Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/653
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พีรพงษ์ จันทร | |
dc.date.accessioned | 2012-10-15T06:58:26Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T06:42:55Z | - |
dc.date.available | 2012-10-15T06:58:26Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T06:42:55Z | - |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/653 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมบัติเส้นใยเขาคอนและทดลองปั่นเป็นเส้นด้าย โดยการนำเส้นใยจากฝักเขาคอนแก่จัดและแห้งจากป่าเต็งรัง ตามธรรมชาติบนเทือกเขาภูพานน้อยถ้ำสิงห์ ตำบลขอนยูง อำเภอกุดจับ จังหวัดอุดรธานี จากการทดสอบสมบัติเส้นใยเขาคอนในเบื้องต้น พบว่าเส้นใยมีลักษณะผิวเรียบ เป็นรูปกรวยแหลม และมีรูตรงกลางเป็นท่อยาวตลอดจนถึงปลาย มีความยาวโดยเฉลี่ย 18.9 มิลลิเมตร ค่าความละเอียดเท่ากับ 1.58 ดีเนียร์ ความหนาแน่นเท่ากับ 0.033 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ซึ่งมีสมบัติที่จะนำมาปั่นเป็นเส้นด้ายได้ โดยทดลองผสมเส้นใยเขาคอนกับเส้นใยฝ้ายในอัตราส่วนผสม 50:50, 40:60 และ 30:70 (โดยน้ำหนัก) และใช้กระบวนการปั่นเส้นด้ายใยสั้นแบบวงแหวน (Ring Spinning) ผลการศึกษาพบว่าการปั่นเส้นด้ายผสมที่อัตราส่วนผสม 50:50 ได้เส้นด้ายเบอร์ 12 Ne จำนวนเกลียว 14 เกลียวต่อนิ้ว และมีความแข็งแรงแบบไจเท่ากับ 149 ปอนด์ต่อ 120 หลา ที่อัตราส่วนผสม 40:60 ได้เส้นด้ายเบอร์ 18 Ne จำนวนเกลียว 17 เกลียวต่อนิ้ว และมีความแข็งแรงแบบไจเท่ากับ 114 ปอนด์ต่อ 120 หลา และที่อัตราส่วนผสม 30 : 70 ได้เส้นด้ายเบอร์ 17 Ne จำนวนเกลียว 16 เกลียวต่อนิ้ว และมีความแข็งแรงแบบไจเท่ากับ 118 ปอนด์ต่อ 120หลา ซึ่งเส้นด้ายผสมเส้นใยเขาคอนกับเส้นใยฝ้ายดังกล่าว สามารถนำไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์สิ่งทอได้ | en_US |
dc.description.abstract | The aim of this experimental research was to study Khoa-Khon fiber and its spin ability. The work was carried out by bringing fiber from dry and ripe Khoa-Khon pod in deciduos forest. This forest was on Pupannoi hill, Khonyung place, Koodjub district, Udonthani province. The results obtained from the basically fiber tests showed that the fiber had smooth skin, cone structure and had the space at the center of the fiber like a tube. The fiber properties were 18.9 mm in length, 1.58 denier and 0.033 g/cm3. This fiber was able to spin into a yarn. The spinning was carried out by Khoa-Khon fiber with cotton. The ratio between Khoa-Knon and cotton were 50 : 50, 40 : 60 and 30 : 70 (by weight) The results obtained from the study showed that the ratio of 50 : 50 would be produced the 12 Ne yarn with 14 twist per inch and 149 lbs per 120 yard lea strength. And the ratio of 40 : 60 would be produced the 18 Ne yarn with 17 twist per inch and 114 lbs per 120 yard lea strength. On the other hand, the ratio of 30 : 70 would be produced the 17 Ne yarn with 16 twist per inch and 118 lbs per 120 yard lea strength, respectively. Moreover, the results obtained showed that all of the blended could be produced the textile products. | |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาสิ่งทอ | en_US |
dc.subject | fiber property | en_US |
dc.subject | khoa-khon fiber | en_US |
dc.subject | ring spinning | en_US |
dc.subject | การปั่นด้ายเส้นใยสั้นแบบวงแหวน | en_US |
dc.subject | สมบัติเส้นใย | en_US |
dc.subject | เส้นใยเขาคอน | en_US |
dc.title | ศึกษาการนำเส้นใยเขาคอนมาเป็นวัตถุดิบในการปั่นด้าย | en_US |
dc.title.alternative | The study on khoa-khon fiber to be Spinning | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ศึกษาการนำเส้นใยเขาคอนมาเป็นวัตถุดิบในการปั่นด้าย.pdf | ศึกษาการนำเส้นใยเขาคอนมาเป็นวัตถุดิบในการปั่นด้าย | 15.81 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.