Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/648
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภัทระ วรศิริ
dc.date.accessioned2012-10-15T04:29:13Z
dc.date.accessioned2020-09-24T06:41:13Z-
dc.date.available2012-10-15T04:29:13Z
dc.date.available2020-09-24T06:41:13Z-
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/648-
dc.description.abstractการศึกษาคุณสมบัติการนาความร้อนผ้าไม่ทอจากเศษรังไหม วัตถุประสงค์เพื่อทดลองทาแผ่นผ้าไม่ทอจากเศษรังไหมในกระบวนการยึดติดเชิงกล(Mechanical Bonding)โดยเลือกใช้วิธีการยึดติดแบบใช้เข็มเจาะ(Needle Punching) ทาการทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพ และคุณสมบัติการนาความร้อนของผ้าไม่ทอจากเศษรังไหม ผลการทดสอบผ้าไม่ทอจากเศษรังไหมมีผลดังนี้ สถานะของผืนผ้าที่ได้มีความสม่ำเสมอโดยการทดสอบน้าหนักต่อหน่วยพื้นที่ที่ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation Constant ) มีค่าเท่ากับ18.3873โดยควบคุมปัจจัยต่างๆ เช่น ความเร็วในการป้อนผ้า จานวนเข็มต่อตารางนิ้ว ผลการทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพได้ค่าความหนาผ้าไม่ทอจากเศษรังไหมเท่ากับ 4.4 มิลลิเมตร น้าหนักผ้าไม่ทอจากเศษรังไหมเท่ากับ 371.53 กรัมต่อตารางเมตร ความหนาแน่นผ้าไม่ทอจากเศษรังไหมเท่ากับ 84.82 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร การทดสอบการนาความร้อนเท่ากับ 6.9 วัตต์ต่อตารางเมตรองศาเควิล และได้ค่าต้านทานความร้อนเท่ากับ 0.145 ตารางเมตรองศาเคลวิลต่อวัตต์ จากผลการทดสอบดังกล่าวนามาเปรียบเทียบค่าความต้านทานความร้อนกับวัสดุอื่น ที่ความหนาแน่น 100 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตรและที่ความหนาเท่ากับ 0.01เมตร ผลที่ได้ค่าการต้านทานความร้อน(Thermal Resistant ,R) ผ้าไม่ทอจากเศษรังไหมเท่ากับ 0.00171 ตารางเมตรองศาเคลวิลต่อวัตต์ ค่าการต้านทานความร้อนเซลลูโลส เท่ากับ 0.41667 ตารางเมตรองศาเคลวิลต่อวัตต์ ค่าการต้านทานความร้อนใยแก้วเท่ากับ 1.73611 ตารางเมตรองศาเคลวิลต่อวัตต์ และค่าการต้านทานความร้อนไม้อัดเท่ากับ 0.01372 ตารางเมตรองศาเคลวิลต่อวัตต์ ถ้าค่าการต้านทานความร้อนสูงแสดงว่าแผ่นวัตถุนั้นมีค่าการต้านทานความร้อนดี จากผลการเปรียบเทียบผ้าไม่ทอที่ผลิตจากเศษรังไหมมีค่าการต้านทานความร้อนต่ำสุด และมีค่าการนำความร้อนสูงเมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุต่างๆที่นำมาเทียบเคียง การศึกษาคุณสมบัติการนำความร้อนผ้าไม่ทอจากเศษรังไหมพบว่า ในสัดส่วน 15 กิโลกรัม ของเศษรังไหมที่ไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้อีก สามารถนามาพัฒนาเป็นผ้าไม่ทอจากเศษรังไหมโดยการยึดติดทางเชิงกลแบบการยึดติดโดยการใช้เข็มเจาะ(Needle Punching) คิดเป็นน้าหนักเส้นใย ได้ 10 กิโลกรัม กลายเป็นของเสีย 5 กิโลกรัม แผ่นผ้าไม่ทอจากเศษรังไหมสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในทางเกษตรกรรม วัสดุป้องกันอุณหภูมิและสร้างองค์ความรู้ใหม่จากเศษรังไหม งานวิจัยชิ้นนี้ทาให้ทราบถึงการเตรียมเส้นใยจากเศษรังไหม ทราบวิธีการกาจัดสิ่งสกปรกที่ติดมากับเศษรังไหม ทราบวิธีการยึดติดผ้าไม่ทอจากเศษรังไหม ทราบวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพของผ้าไม่ทอจากเศษรังไหมโดยการเพิ่มจานวนเข็ม การควบคุมความเร็วของการป้อนแผ่นเส้นใยen_US
dc.language.isothaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาสิ่งทอen_US
dc.subjectเศษรังไหมen_US
dc.subjectผ้าไม่ทอen_US
dc.subjectการนำความร้อนen_US
dc.subjectความต้านทานความร้อนen_US
dc.subjectการทดสอบเชิงกลen_US
dc.titleการศึกษาคุณสมบัติการนาความร้อนผ้าไม่ทอจากเศษรังไหมen_US
dc.title.alternativeThe Study of Thermal Conductivity of Non Woven from Waste Cocoonen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
การศึกษาคุณสมบัติการนำความร้อนผ้าไม่ทอจากเศษรังไหม.pdfการศึกษาคุณสมบัติการนาความร้อนผ้าไม่ทอจากเศษรังไหม6.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.