Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4491
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorมาริดา ชิณโย-
dc.date.accessioned2024-10-31T03:53:12Z-
dc.date.available2024-10-31T03:53:12Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4491-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ประสิทธิภาพในการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2) ข้อเสนอแนะแนวทาง การพัฒนาประสิทธิภาพในการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรสายสนับสนุนที่มีการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จำนวน 327 คน เครื่องมือ ที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานด้วยค่าที ค่าเอฟ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าสหสัมพันธ์เชิงถดถอย ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพ ในการปฏิบัติงานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรีในภาพรวมเห็นด้วยอยู่ในระดับมาก (=4.27 , S.D.=.52) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า เห็นด้วยอยู่ในระดับมากทุกข้อ โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านค่าใช้จ่าย (=4.50 , S.D.=.53) รองลงมาด้านเวลา (=4.23 , S.D.=.53) ด้านปริมาณงาน มี (=4.19 , S.D.=.50) และด้านคุณภาพของงาน (=4.15 , S.D.=.52) และผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า การวิเคราะห์ถดถอยพหุขั้นตอนเพื่อพยากรณ์ค่าตัวแปรที่มีอำนาจในการทำนาย ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี พบว่า ด้านความพึงพอใจในการใช้งาน ด้านประสิทธิภาพการใช้งาน และ ด้านประสิทธิภาพในการจดจำ มีอิทธิพลต่อระดับความคิดเห็นเรื่องการศึกษาความคิดเห็นในการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en
dc.description.abstractThis research aimed to 1) investigate the efficiency in using the electronic office system of Rajamangala University of Technology Thanyaburi for administrative, and 2) explore suggestions for improving the efficiency in using the system. This study was quantitative research. The research sample group consisted of 327 support staff members and faculty members who were using the electronic office system of Rajamangala University of Technology Thanyaburi. The instrument used for data collection was a questionnaire. The data were analyzed using percentage, mean, and standard deviation. The hypotheses were tested using t-test, F-test, Pearson correlation coefficient, and multiple linear regression. The research findings are as follows: 1) The majority of respondents generally agree on the effectiveness of using the e-office electronic document management system at Rajamangala University of Technology Thanyaburi, with an overall high level of agreement (=4.27 x, S.D.=.52). Upon considering various aspects, it was found that there is a high level of agreement across all aspects, ranked in descending order of mean scores as follows: cost (=4.50 x, S.D.=.53) being the highest, followed by time (=4.23 x, S.D.=.53), workload (=4.19 x, S.D.=.50), and work quality (=4.15 x, S.D.=.52). 2) Through regression analysis to predict influential factors on the efficiency of using the e-office system at Rajamangala University of Technology Thanyaburi, it was found that satisfaction with usage, efficiency in usage, and memorability significantly influence the level of agreement regarding the usage of the e-office electronic document management system, with a statistical significance level of 0.05.en
dc.description.sponsorshipได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประจำปี พ.ศ. 2564en
dc.language.isoThaien
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะศิลปศาสตร์.en
dc.subjectระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์en
dc.subjectประสิทธิภาพ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีen
dc.subjectElectronic Document Management System, Efficiencyen
dc.subjectRajamangala University of Technology Thanyaburien
dc.titleแนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพในการใช้งานระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ (e-office) ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีen
dc.title.alternativeGuidelines for Developing Efficiency in using the Electronic Document Management System (e-office) at Rajamangala University of Technology Thanyaburien
dc.typeR2Ren
Appears in Collections:วิจัย (Research - LARTS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
20241030-R2R.II-Marida C..pdfGuidelines for Developing Efficiency in using the Electronic Document Management System (e-office) at Rajamangala University of Technology Thanyaburi1.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.