Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3571
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พนิดา เกรียงทวีทรัพย์ | |
dc.date.accessioned | 2019-12-25T07:26:33Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:26:33Z | - |
dc.date.available | 2019-12-25T07:26:33Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:26:33Z | - |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3571 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษารูปแบบการสื่อสาร 2) การใช้สื่อสังคมออนไลน์ และประสิทธิภาพการทำงานภายในสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการสื่อสาร และการใช้สื่อสังคมออนไลน์กับประสิทธิภาพการทำงาน ภายในสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรสังกัดสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ กระทรวงการคลัง จำนวน 158 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ แบบเพียร์สัน จากผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 31 - 45 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี ดำรงตำแหน่งข้าราชการ โดยผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็น ดังนี้ 1) รูปแบบการสื่อสาร ประกอบด้วย การสื่อสารแบบบนลงล่าง แบบล่างขึ้นบน แบบแนวนอน และ แบบแนวไขว้ 2) การใช้สื่อสังคมออนไลน์และประสิทธิภาพการทำงานของบุคลากรภายในสำนักงาน บริหารหนี้สาธารณะอยู่ในระดับมาก และ 3) รูปแบบการสื่อสาร และการใช้สื่อสังคมออนไลน์มี ความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการทำงานในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 | en_US |
dc.description.abstract | The objectives of this study were: 1) to study the communication pattern; 2) to investigate the social media used in a workplace and 3) to study the relationship among work efficiency, the communication’s pattern, and the social media used by staff of Public Debt Management Office, Ministry of Finance. The samples involved 158 staff of Public Debt Management Office, Ministry of Finance. A questionnaire was used to collect data. The tools used to analyze the data in this study were percentage, mean, standard deviation and Pearson’s Correlation Coefficient. It was found that mosts of the respondents were female, age between 31 - 45 years old, civil servants with Bachelor’s degree. The results revealed that: 1) there were 4 communication patterns found in the overall opinions consisting of Upward Communications: Downward Communications: Horizontal Communications: and Cross-Channel Communications: 2) the level of social media used was at a high level: 3) the relationships between communication patterns, social media usage and work efficiency found to be moderate at significant level of 0.05. | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. วิชาเอกการจัดการทั่วไป | en_US |
dc.subject | การสื่อสารในองค์กร | en_US |
dc.subject | สื่อสังคมออนไลน์ | en_US |
dc.subject | ประสิทธิภาพการทำงานภายในองค์กร | en_US |
dc.subject | Communication in organizations | en_US |
dc.subject | Social media | en_US |
dc.title | รูปแบบการสื่อสารและการใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการทำงานภายในองค์กร: กรณีศึกษา สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ | en_US |
dc.title.alternative | Communication patterns and social media usage related to work efficiency within organization: A case study of Public debt management office | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
Appears in Collections: | การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RMUTT-161633.pdf | รูปแบบการสื่อสารและการใช้สื่อสังคมออนไลน์ที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการทำงานภายในองค์กร: กรณีศึกษา สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ | 51.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.