Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3174
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณรัช พรนิธิบุญ
dc.date.accessioned2018-05-24T05:05:22Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:41:09Z-
dc.date.available2018-05-24T05:05:22Z
dc.date.available2020-09-24T04:41:09Z-
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3174-
dc.descriptionวพ TT 519 ณ249ปen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาโครงสร้างผ้าถัก 2) ทดสอบประสิทธิภาพการใช้เข็มเย็บผ้าถัก 3) ทดสอบคุณภาพเข็มที่มีผลต่อผ้าถัก 4) เปรียบเทียบประสิทธิภาพและคุณภาพของเข็มที่เหมาะสมกับผ้าถัก วิธีการนำผ้าถักไปทดสอบสมบัติทางกายภาพ จากนั้นไปทดสอบประสิทธิภาพด้วยความหนาตะเข็บ 2 ระดับ คือ ตะเข็บติดป้ายการดูแลรักษาเสื้อผ้า และตะเข็บไม่ติดป้ายการดูแลรักษาเสื้อผ้ากับเข็ม 2 ยี่ห้อ คือเข็มยี่ห้อ A และ ยี่ห้อ B ลักษณะปลายเข็มแหลม (KN) และปลายเข็มมน (SES) ทดสอบคุณภาพเข็มโดยการชั่งน้ำหนักก่อนและหลังการทดสอบ และเปรียบเทียบประสิทธิภาพของเข็ม ยี่ห้อ A และยี่ห้อ B วิเคราะห์ข้อมูลใช้ T-test ผลการทดลองพบว่า ผ้าถักที่ใช้มีโครงสร้างผ้าถักแนวนอน มีส่วนผสมเส้นใยพอลีเอสเตอร์ร้อยละ 100 มีความแข็งแรงของผ้าต่อแรงดันทะลุ 868.80 กิโลปาสคาล ความหนาของผ้า 0.05 มิลลิเมตร ผลการทดสอบประสิทธิภาพพบว่า ปลายเข็มแหลม (KN) เหมาะสมกับตะเข็บไม่ติดป้ายการดูแลรักษาเสื้อผ้า และปลายเข็มมน (SES) เหมาะสมกับตะเข็บติดป้ายการดูแลรักษาเสื้อผ้า ผลการทดสอบคุณภาพเข็มก่อนและหลังพบว่า เข็มยี่ห้อ A ปลายเข็มแหลม (KN) เย็บตะเข็บไม่ติดป้ายการดูแลรักษาเสื้อผ้า ซึ่งมีค่าความเสื่อมน้อยที่สุดคือ 0.303 กรัม และผลการเปรียบเทียบประสิทธิภาพเข็มพบว่า เข็มยี่ห้อ A ปลายเข็มแหลม (KN) ไม่ติดป้ายการดูแลรักษาเสื้อผ้า มีประสิทธิภาพมากที่สุดคือ 165 ชิ้นen_US
dc.description.abstractThe objectives of this research were to 1) examine the structure of knitted fabric, 2) investigate the efficiency of using different types of needles to sew knitted fabric, 3) study the quality of needles used to sew knitted fabric, and compare the efficiency and quality of needles suitable for sewing knitted fabric. The data were collected by examining the structural and physical properties of knitted fabric; sewing two different types of seams of knitted fabric, one with a care label and the other without a care label, to test the efficiency of two types of needle, one pointed and the other ballpoint, of two brands - brand A and brand B; the data were analyzed using T-test. The results of the study showed that the structure of the knitted fabric was weft knitted and 100 % polyester with a resistance to pressure at 868.80 kPa. The fabric was 0.05 mm. thick. The results of quality tests before and after the needle found that brand A that the sharp pointed needle (KN) was suitable with a seam without a care label, which was a degenerative least 0.303 g. and results of the comparison showed that the needles brand A that the sharp pointed needle (KN) was suitable with a seam without a care label, Most efficiency of needles suitable for sewing knitted fabric was 165 pieces.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์. สาขาวิชาเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์.en_US
dc.subjectการเย็บผ้าถักen_US
dc.subjectเข็มเย็บผ้าถัก -- การทดสอบคุณภาพen_US
dc.subjectตำหนิรูเข็มจักรen_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการเย็บพันริมผ้าถักและการเกิดตำหนิจากรูเข็มen_US
dc.title.alternativeFactors influencing the overlock sewing process in knitted fabric and needle holb defectsen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - HET)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT_152424.pdfปัจจัยที่มีผลต่อกระบวนการเย็บพันริมผ้าถักและการเกิดตำหนิจากรูเข็ม5.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.