Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3122
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวนิดา แสงสุวรรณ์
dc.date.accessioned2018-04-23T04:27:07Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:44:55Z-
dc.date.available2018-04-23T04:27:07Z
dc.date.available2020-09-24T04:44:55Z-
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3122-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากระบวนการออกแบบโปสเตอร์ที่มีเนื้อหา เชิงบวก กับเนื้อหาเชิงลบ เพื่อประกอบการให้ความรู้ด้านยาเสพติด 2) เปรียบเทียบคุณภาพของสื่อโปสเตอร์ที่มีเนื้อหาเชิงบวกกับเนื้อหาเชิงลบ และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของผู้ที่ดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพที่มีต่อโปสเตอร์ยาเสพติดที่มีเนื้อหาเชิงบวก และเนื้อหาเชิงลบ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การวิจัยครั้งนี้คือ ผู้ที่ดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของสถาบันธัญญารักษ์ จำนวน 38 ท่านโดยคัดเลือกจากประสบการณ์ในการทำงานด้านการดูแลผู้ป่วย ยาเสพติดในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพไม่น้อยกว่า 3 ปี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบประเมินคุณภาพโปสเตอร์แบบมาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับและแบบประเมินความพึงพอใจแบบ มาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ สถิติพรรณนา บรรยายข้อมูล โดยวิธีการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบ ได้แก่ t-test สำหรับการเปรียบค่าเฉลี่ยระหว่าง 2 กลุ่มตัวแปร ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพของโปสเตอร์ยาเสพติดเชิงบวกภาพรวมอยู่ในระดับ ดีมาก (ค่าเฉลี่ย=4.5) คุณภาพของโปสเตอร์ยาเสพติดเชิงลบภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก (ค่าเฉลี่ย=4.7) คะแนนเฉลี่ยคุณภาพระหว่างโปสเตอร์เชิงบวก และโปสเตอร์ยาเสพติดเชิงลบไม่แตกต่างกันที่ระดับ นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (t[subscript 4]= -0.88, p =0.43) และความพึงพอใจของผู้ที่ดูแลผู้ป่วยยาเสพติด ในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพที่มีต่อโปสเตอร์ยาเสพติดเชิงบวกภาพรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย=4.4) และความพึงพอใจของผู้ที่ดูแลผู้ป่วยยาเสพติดในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพที่มีต่อโปสเตอร์ยาเสพติดเชิงลบภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย=4.5)en_US
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) study the design process of the posters with positive and negative contents to increase knowledge about drugs, 2) compare the quality of the posters with positive and negative contents, and 3) study the satisfaction of the drug addiction caregivers in rehabilitation phrase towards the posters with positive and negative contents. The samples of this study were 38 drug addiction caregivers in rehabilitation phrase at Thankyarak Institute with more than 3 years work experience. The research instruments were the quality evaluation form with 5 rating scales and the satisfaction evaluation form with 5 rating scales. The statistics used to analyze data were percentage, mean, standard deviation, and t-test for independent sample. The result of the research found that the quality of positive content posters was overall at the very good level (Mean =4.5) and the quality of negative content posters was overall at the very good level (Mean =4.7) and there was no difference of the mean between the quality of positive content posters and negative content posters at the statistic significant level 0.05. (t [subscript 4] =-0.88, p=0.43). The satisfaction of the drug addiction caregivers in rehabilitation phrase towards the posters with positive contents was at the good level (Mean=4.4) and the satisfaction of the drug addiction caregivers towards the posters with negative contents was the high level (Mean=4.5).
dc.language.isothaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. สาขาวิชาเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน.en_US
dc.subjectโปสเตอร์ยาเสพติดen_US
dc.subjectสถาบันธัญญารักษ์en_US
dc.titleการออกแบบโปสเตอร์ยาเสพติดสำหรับผู้ป่วยยาเสพติดในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของสถาบันธัญญารักษ์en_US
dc.title.alternativePoster Design for Drug Addict Rehabilitation at Thanyarak Instituteen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - MCT)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-156699.pdfPoster Design for Drug Addict Rehabilitation at Thanyarak Institute6.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.