Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3061
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเสาวลักษณ์, อินภุชงค์
dc.date.accessioned2018-02-06T04:08:36Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:20:24Z-
dc.date.available2018-02-06T04:08:36Z
dc.date.available2020-09-24T04:20:24Z-
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3061-
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยและพฤติกรรมการใช้งานระบบที่มีอิทธิพล ต่อการยอมรับระบบการชำระเงินแบบพร้อมเพย์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ใช้งานระบบ พร้อมเพย์ในเขตจังหวัดปทุมธานี จำนวน 400 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก และสถิติ ที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าความถี่ และ ส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Independent Samples t-test, One-way ANOVA, Least Significant Difference และ Multiple Linear Regression ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง สถานภาพโสด อยู่ในช่วงอายุ 31-40 ปี และประกอบอาชีพพนักงานราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ผลจากการวัดระดับความสำคัญ พบว่า การรับรู้ประโยชน์ ความยากง่ายในการใช้งาน และพฤติกรรมการใช้งานระบบทุกด้าน มี ความสำคัญในระดับมาก ผลจากการทดสอบสมมุติฐาน พบว่า อาชีพและสถานภาพสมรสมีผลต่อการยอมรับระบบ การชำระเงินแบบพร้อมเพย์ด้านการรับรู้ความยากง่ายในการใช้งาน ส่วนพฤติกรรมการใช้ระบบ ด้านช่องทางการชำระเงิน ด้านเหตุผลในการใช้บริการ และด้านอิทธิพลทางสังคมมีอิทธิพลต่อการ ยอมรับระบบการชำระเงินแบบพร้อมเพย์ในภาพรวม โดยเหตุผลในการใช้บริการมีอิทธิพลสูงที่สุด ส่วนช่องทางการชาระเงินมีอิทธิพลสูงที่สุดต่อการยอมรับระบบการชำระเงินแบบพร้อมเพย์ด้านการ รับรู้ประโยชน์en_US
dc.description.abstractThe objective of this study was to explore factors and behaviors that influenced the acceptance of Promptpay payment system. The sample group, selected by convenience sampling, was 400 Promptpay payment system users in Pathum Thani province. Statistics used to analyze data were descriptive statistics consisting of frequency, percentage, mean and standard deviation; and inferential statistics comprising Independent Samples t-test, One-way ANOVA, Least Significant Difference (LSD), and Multiple Linear Regression at a statistically significant difference of 0.05. The results revealed that most of the respondents were single female aged 31-40 and have been employed by the government sectors and state enterprises. It was also found that their awareness of the system usefulness, its user friendliness, and all aspects of their using behaviors were rated highly important. The hypotheses results showed that the respondents’ occupation and marital status affected the acceptance of Promptpay payment system in the aspect of user friendliness. Their behaviors of using the system including payment channel, necessity to use the system, and social influence had an impact on the acceptance of Promptpay payment system in the total aspect. Particularly, their necessity to use the system was rated the most influential. Considering the usefulness of the system, it was found that the most influential aspect was the payment channel.
dc.language.isothaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. วิชาเอกระบบสารสนเทศ.en_US
dc.subjectการยอมรับเทคโนโลยีen_US
dc.subjectระบบการชำระเงินแบบพร้อมเพย์en_US
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับระบบการชำระเงินแบบพร้อมเพย์en_US
dc.title.alternativeFactors Influencing the Acceptance of Promptpay Payment Systemen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-155541.pdfFactors Influencing the Acceptance of Promptpay Payment System5.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.