Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2842
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกฤตยา แสนสุข
dc.date.accessioned2017-05-22T03:33:04Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:44:56Z-
dc.date.available2017-05-22T03:33:04Z
dc.date.available2020-09-24T04:44:56Z-
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2842-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของฟิลเตอร์สีประกอบการจัดแสงที่ส่งผลต่อผิวคนไทยว่า การมองเห็นสีผิวเปลี่ยนไปอย่างไรเมื่อใช้ฟิลเตอร์สีจัดแสงในการถ่ายภาพ และการมองเห็นผิวสุขภาพดีเปลี่ยนไปอย่างไรเมื่อใช้ฟิลเตอร์สีในการจัดแสง ทำทดลองด้วยวิธีการจัดแสง โดยใช้โคมไฟที่ให้แสงประเภทแสงกลางวันอุณหภูมิสี 5500 องศาเคลวิล ใช้ฟิลเตอร์สีประเภทคอสเมติกฟิลเตอร์ จำนวน 6 สี ได้แก่ สีพีช (สีส้มอมชมพู) สีชมพู สีส้ม สีเหลือง สีเขียว และสีฟ้า กับตัวแบบคนไทยที่มีผิวขาวเหลือง (light brown skin) ผิวสองสี (moderate brown skin) และผิวสีน้ำตาล (dark brown skin) โดยผิวตัวแบบไม่ใช้เครื่องสำอางที่ทำให้สีผิวแตกต่างจากผิวเดิม ถ่ายภาพด้วยกล้อง DSLR Canon Eos 7D เลนส์ Canon AF 50 mm. f/1.8 ควบคุมตัวแปร ได้แก่ ชนิดเลนส์ รูรับแสง ขนาดของภาพ ระยะห่างระหว่างฉากหลังถึงตัวแบบ และสภาพแสง นำภาพมาทำการทดลองโดยให้กลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนักศึกษาสาขาเทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จำนวน 30 คน ดูภาพผ่านจอคอมพิวเตอร์ ประเมินด้วยแบบสอบถามและแบบวัดมาตรจำแนกความหมาย (Semantic Differentials) ผลวิจัยพบว่า การมองเห็นสีผิวของแบบจะเปลี่ยนแปลงตามสีฟิลเตอร์ การใช้ฟิลเตอร์สีในกลุ่มสีโทนร้อนจะทำให้ผิวแบบดูหมองคล้ำ การใช้ฟิลเตอร์สีส้มในการถ่ายภาพจะช่วยให้ผิวแบบดูมีเลือดฝาดมากที่สุด และการใช้ฟิลเตอร์สีไม่ช่วยให้ผิวแบบดูนุ่มนวลขึ้นen_US
dc.description.abstractThis study aimed to investigate the influence of colored filters on changes of Thais’ skin tones and healthy skin perception when the colored filters were used in photography. In the experiment, all photographs were taken in a studio, using 5500 K day light lamps with colored filters. The colored filters were in peach, pink, orange, yellow, green, and blue. Three different skin tone models included light brown, moderate brown, and dark brown. No coloring cosmetics were used on the models’ skin in order not to alter their original skin tones. A DSLR Canon EOS 7D camera with a Canon AF 50 mm. f1/8 lens was used for this photography. The controlled variables were lens type, aperture, image size, the space between the models and the background, and the light conditions. Thirty students majoring in photography were used as subjects for the psychophysical experiment. The study was found that the skin tone changed differently according to the filter colors used in photography. Warm color filters tended to create dull effect on the skin. Orange filter helped the models’ skin looked t the rosiest of all. In addition, colored filter did not bring any significant effect on the smoothness of the skin.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน. สาขาวิชาเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน.en_US
dc.subjectคอสเมติกฟิลเตอร์en_US
dc.subjectฟิลเตอร์สีen_US
dc.subjectโทนสีผิวen_US
dc.subjectโทนสีผิวไทยen_US
dc.subjectการถ่ายภาพen_US
dc.titleอิทธิพลของฟิลเตอร์สีประกอบการจัดแสงที่ส่งผลต่อผิวคนไทยen_US
dc.title.alternativeEffect of colored lighting filters on Thai’s skin tonesen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - MCT)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-151505.pdfEffect of colored lighting filters on Thai’s skin tones5.95 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.