Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2564
Title: คุณค่าตราสินค้าของรถยนต์ยี่ห้อฟอร์ดในมุมมองของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร
Other Titles: Brand equity of Ford Automobiles by the viewpoint of consumers in Bangkok metropolis area
Authors: This independent study had the objectives to study general data of brand equity of Ford automobiles by utilizing questionnaires as the tools in data collection. The sample group was consumers using Ford, total 400 samples. Statistics used in data analysis were descriptive statistics, frequency, percentage, mean and standard deviation. The Independent Samples t-test was used to test the difference between two independent groups whereas One-way ANOVA (F-test) was used to determine whether there were any significant differences between the means of the three or more independent groups. Besides, Least Significant Difference (LSD) was also used to determine the minimum difference between any two means. From the study result, it found that most respondents were male, (60%), aged between 31-40 years (43%), had Bachelor’s Degree (67.5%), had occupation as private company employees (43%), had monthly income between 28,001-38,000 Baht (46.5%), were married for 53%, and type of automobile that they used was pickup truck. Moreover, from the testing results, it found that the different age, education level and income, had different recognition in brand equity at a significance level of 0.05.
ปุณยนุช รัตนสุดใส
Keywords: คุณค่าตราสินค้า
brand equity
Issue Date: 2557
Publisher: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. สาขาวิชาการตลาด
Abstract: การค้นคว้าอิสระครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลทั่วไป คุณค่าตราสินค้าของรถยนต์ยี่ห้อฟอร์ด โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริโภคที่ใช้รถยนต์ ฟอร์ด จำนวน 400 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน เพื่อหาความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของประชากรทั้ง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent Samples t-test) ความแปรปรวนทางเดียวของประชากรมากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป (One-way ANOVA: F-test) และทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยวิธี Least Significant Difference (LSD) จากผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 60 อายุ 31-40 ปี คิดเป็นร้อยละ 43 ระดับการศึกษาจบปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 67.5 อาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน คิดเป็นร้อยละ 43 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 28,001-38,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 46.5 สถานภาพสมรส คิดเป็นร้อยละ 53 ประเภทของรถยนต์ที่ใช้ คือ กระบะ นอกจากนั้นผลจากทดสอบพบว่า อายุ ระดับการศึกษา รายได้ ที่แตกต่างกัน มีการรับรู้คุณค่าตราสินค้าที่แตกต่างกันที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
URI: http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2564
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146604.pdfคุณค่าตราสินค้าของรถยนต์ยี่ห้อฟอร์ดในมุมมองของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร4.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.