Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2509
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฤดี เชยเดช
dc.date.accessioned2015-10-14T02:37:01Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:49:33Z-
dc.date.available2015-10-14T02:37:01Z
dc.date.available2020-09-24T04:49:33Z-
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2509-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้สาระภาษาไทย โดยแนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่น เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร จังหวัดปทุมธานี และ 2) เปรียบเทียบทักษะการอ่านสะกดคา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร จังหวัดปทุมธานี ก่อนและหลังเรียนการใช้แผนการจัดการเรียนรู้สาระภาษาไทย โดยแนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร จังหวัดปทุมธานี จำนวน 30 คน โดยการสุ่มอย่างง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยแนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่น และ 2) แบบประเมินทักษะการอ่านสะกดคำ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยกรณีประชากรสองกลุ่มมีความสัมพันธ์กัน ผลการศึกษาพบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้สาระภาษาไทย โดยแนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่นที่สร้างขึ้น มีค่าดัชนีความสอดคล้องในภาพรวมของแผนเฉลี่ยเท่ากับ 0.89 และสามารถพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำของนักเรียนได้ โดยมีผลคะแนนเฉลี่ยของการประเมินทักษะการอ่านสะกดคำ เท่ากับ 14.90 คะแนน และ 2) ผลการเปรียบเทียบทักษะการอ่านสะกดคำของนักเรียนระหว่างก่อนและหลังการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ พบว่า คะแนนสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractThe purposes of this experimental research were 1) to develop lesson plans of Thai based on play way method to improve the spelling skill of grade one students of Chumchunprachathipatwitthayakarn School, Pathumthani, and 2) to compare the students' ability in spelling skill after deploying lesson plans of Thai based on play way method. Research samples were 30 grade one students in the second semester, academic year 2014 from Chumchunprachathipatwitthayakarn School, Pathumthani by simple random sampling. Research instruments were 1) lesson plans of Thai based on play way method, and 2) a spelling skill assessment. The statistics used for data analysis were mean (x̄), standard deviation (S.D.) and dependent samples t-test. The results showed that the lesson plans of Thai based on play way method could improve the spelling skill of grade one students of Chumchunprachathipatwitthayakarn School, Pathumthani. The average score of pre-test spelling skill was 3.13 and the average score of post-test the spelling skill was 14.90. From the comparison of pre-test and post-test, it was found that the post-test result showed statistically significant higher difference than pre-test result at the levels of .05
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาเทคโนโลยีการวิจัยและพัฒนาหลักสูตรen_US
dc.subjectการจัดการเรียนรู้--หลักสูตรen_US
dc.subjectกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยen_US
dc.titleการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้สาระภาษาไทย โดยแนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่น เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร จังหวัดปทุมธานีen_US
dc.title.alternativeThe development of Thai Lesson Planning based on Play Way Method to enhance work spelling in reading skill of Prathomsuksa One students at Chumchonprachathipatwitthayakarn Schoolen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146491.pdfการพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้สาระภาษาไทย โดยแนวคิดการจัดการเรียนรู้แบบเรียนปนเล่น เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านสะกดคำของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนชุมชนประชาธิปัตย์วิทยาคาร จังหวัดปทุมธานี6.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.