Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1475
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภิรมย์ แก้วมณี
dc.date.accessioned2014-04-03T07:42:09Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:41:03Z-
dc.date.available2014-04-03T07:42:09Z
dc.date.available2020-09-24T04:41:03Z-
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1475-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิถีชีวิตของกะเหรี่ยงบ้านตะเพินคี่ 2) ศึกษาลักษณะลวดลายผ้า 3) พัฒนาผ้าคลุมไหล่ 4) ทดสอบสมบัติทางกายภาพ และความคงทนของผ้าคลุมไหล่ต้นแบบ และ 5) สารวจความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อผ้าคลุมไหล่ต้นแบบ การศึกษาวิถีชีวิตกะเหรี่ยงบ้านตะเพินคี่ใช้วิธีการสัมภาษณ์ และบันทึกข้อมูลลักษณะลวดลายผ้าทอมือกะเหรี่ยงใช้วิธีการรวบรวมสิ่งทอทั้งหมดที่มีในหมู่บ้าน โดยนาลายของผ้าทอกะเหรี่ยงแบบดั้งเดิมมาปรับโทนสี และขนาดของลวดลายให้ทันสมัย ย้อมสีธรรมชาติ และทอผ้าตามที่ออกแบบ ทดสอบสมบัติทางกายภาพ กลุ่มตัวอย่างแบบสอบถามคือ ผู้บริโภค 150 คน และสถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า วิถีชีวิตของกะเหรี่ยงบ้านตะเพินคี่ นับถือศาสนาพุทธ การแต่งกายสตรีพรหมจารีสวมชุดกระโปรงยาวถึงข้อเท้า สตรีแต่งงานแล้วสวมเสื้อคอวี นุ่งผ้าซิ่นยาวถึงข้อเท้า บริโภคอาหารที่หาได้ในท้องถิ่น รสจัด ที่อยู่อาศัยเป็นบ้านใต้ถุนสูง ฝา และพื้นบ้านทาด้วยไม้ไผ่ ลวดลายผ้ามี 3 ลักษณะคือ ลายสลับสี ลายขิด และลายจก เมื่อพัฒนาลวดลาย และย้อมสี ทอเป็นผ้าคลุมไหล่แล้ว นำไปทดสอบสมบัติทางกายภาพ ผลการทดสอบพบว่า ผ้ามีน้าหนัก 268.12 กรัมต่อตารางเมตร ความแข็งแรงของผ้าคลุมไหล่ต่อแรงดึงแนวเส้นด้ายยืนคือ 717.66 นิวตัน แนวเส้นด้ายพุ่งคือ 341.64 นิวตัน การเปลี่ยนแปลงขนาดภายหลังการซัก 1 ครั้งพบว่า แนวเส้นด้ายยืนมีการหดตัว 8%และแนวเส้นด้ายพุ่งมีการหดตัว 2.4% ผู้บริโภคมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยของความเหมาะสมกับประโยชน์ใช้สอยคือ 4.60 ค่าเฉลี่ยความสวยงามทันสมัยคือ 4.82en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์. สาขาวิชาเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectการพัฒนา, ผ้าทอมือ, กะเหรี่ยงen_US
dc.titleการพัฒนาผ้าคลุมไหล่จากผ้าทอมือกะเหรี่ยงกรณีศึกษาหมู่บ้านกะเหรี่ยง-ตะเพินคี่ หมู่ 5 ตำบลวังยาว อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุรรณบุรีen_US
dc.title.alternativeThe development of shawi from karen hand-woven fabrics: a case study of tapernkee karen village, Moo 5, wangyaow sub-district, danchang district, Suphanburi provinceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - HET)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
136390.pdfThe development of shawi from karen hand-woven fabrics: a case study of tapernkee karen village, Moo 5, wangyaow sub-district, danchang district, Suphanburi province10.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.