Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1424
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธีระพงษ์ ไชยเฉลิมวงศ์
dc.contributor.authorกฤษณ์ พุ่มเฟือง
dc.date.accessioned2014-02-25T04:15:22Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:33:23Z-
dc.date.available2014-02-25T04:15:22Z
dc.date.available2020-09-24T04:33:23Z-
dc.date.issued2550
dc.identifier.issn1685-5280
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1424-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี ปีที่ 5 ฉบับที่ 10 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2550en_US
dc.description.abstractโดยทั่วไปโรงงานผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปจะไม่ค่อยจ้างคนพิการทำงาน เนื่องจากขาดสภาพคล่องในการทำงาน และไม่มีอุปกรณ์หรือเครื่องจักรที่เอื้ออำนวยต่อคนพิการที่สามารถใช้งานได้อย่างสะดวก ซึ่งคนพิการส่วนใหญ่พี่พบจะเป็นคนพิการทางด้านขา เช่น โปลิโอ ขาลีบ ขาขาด คณะผู้วิจัยจึงเกิดแนวคิดและสร้างอุปกรณ์ช่วยสำหรับจักรเย็บผ้าเข็มเดี่ยวอุตสาหกรรมสำหรับคนพิการขึ้น เพื่อให้มีความเหมาะสมตามลักษณะความพิการและทำให้คนพิการสามารถทำงานได้สะดวกมากขึ้น มีรายได้หาเลี้ยงชีพได้เหมือนคนปกติ ลักษณะของจักรเย็บผ้าเข็มเดี่ยวอุตสาหกรรมสำหรับคนพิการ ที่จัดทำขึ้นนั้นจะมีกลไกการทำงานอยู่ 2 รูปแบบด้วยกัน คือ การใช้มือและการใช้ท่อนขาในการออกแรงเย็บเพื่อที่จะให้จักรเย็บผ้าทำงานได้ จากการทดลองปฏิบัติงานและทดลองใช้จักรเย็บผ้าเข็มเดี่ยวอุตสาหกรรมสำหรับคนพิการภายในแผนกเย็บเสื้อผ้าศูนย์ฟื้นฟูอาชีพคนพิการพระประแดง ผลปรากฏว่าอุปกรณ์ทั้งสองรูปแบบ คือชุดการใช้ท่อนขา และใช้มือในการออกแรงเย็บตรงตามวัตถุประสงค์ทุกประการ คือสามารถใช้เย็บผ้าได้จริงและหยุดการเดินของเข้มได้ทันทีเมื่อต้องการหยุดจักร โดยไม่ต้องออกแรงมาก ในการกดคันบังคับทั้งใช้ท่อนขาและมือในการช่วยเย็บและมีที่วางเท้าที่เหมาะสมกับคนพิการที่ขาขาด สำหรับประโยชน์ทีได้รับจากการออกแบบและสร้างอุปกรณ์ช่วยเย็บผ้าจักรเข็มเดี่ยวอุตสาหกรรมสำหรับคนพิการนี้ จะทำให้คนพิการสามารถทำงานหาเลี้ยงชีพมีงานทำและมีรายได้โดยไม่คิดว่าตนเองไร้ความสามารถ หากสังคมยังเปิดโอกาสให้กับพวกเขาเหล่านั้น จากแบบสอถามความสามารถในการใช้การเย็บผ้าเข็มเดี่ยวอุตสาหกรรมสำหรับคนพิการโดยประเมินจากแบบสอบถามที่เป็นเพศชายจำนวน 10 คน เพศหญิง 5 คน รวมจำนวน 15 ชุดพบว่า • ในด้านการใช้จักรเย็บผ้า อยู่ในระดับ 5 พึงพอใจอย่างยิ่ง/มากที่สุด 53.33% ระดับ 4 พึงพอใจ/ปานกลาง 6.67% • ความพึงพอใจของปฏิบัติงาน อยู่ในระดับ 5 พึงพอใจอย่าง/มากที่สุด 5.67% ระดับ 4 พึงพอใจมาก/มาก 41.33% และระดับ 3 พึงพอใจ/ปานกลาง 8.00%en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectคนพิการ -- การจ้างงานen_US
dc.subjectจักรเย็บผ้าen_US
dc.titleการศึกษาออกแบบจักรอุตสาหกรรมสำหรับคนพิการen_US
dc.title.alternativeStudy and design of sewing machine for handicap usersen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Y.05 Vol.10 p.43-50 2550.pdfการศึกษาออกแบบจักรอุตสาหกรรมสำหรับคนพิการ1.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.