Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/669
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวีระศักดิ์ ละอองจันทร์
dc.contributor.authorอมเรศ บกสุวรรณ
dc.contributor.authorหมิง จิ๋ง
dc.contributor.authorนิติ วิทยาวิโรจน์
dc.date.accessioned2012-10-16T08:18:47Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:37:28Z-
dc.date.available2012-10-16T08:18:47Z
dc.date.available2020-09-24T04:37:28Z-
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/669-
dc.description.abstractในปัจจุบันกระบวนการผลิตกระดาษก่อให้เกิดกากอุตสาหกรรมจำนวนมากจึงเป็นที่มาของการจัดทำงานวิจัยนี้ขึ้นมาโดยวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานำกากปูนขาวจากโรงงานผลิตกระดาษมาใช้ในงานบล็อกคอนกรีตและนำบล็อกแก้วมาแทนที่ในเนื้อบล็อกคอนกรีตมวลเบา ซึ่งในส่วนการออกแบบส่วนผสมนี้จะใช้กากปูนขาวแทนที่ปูนซีเมนต์ ร้อยละ 0, 10, 20, 30, 40 และ 50 โดยน้ำหนักปูนซีเมนต์ตามลำดับ โดยมีอัตราส่วนน้ำต่อปูนซีเมนต์ (w/c) เท่ากับ 0.5 และ 0.6 ใช้ปริมาณผงอลูมิเนียมร้อยละ 1 จากนั้นทำการทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพของบล็อกมวลเบา ซึ่งทำการทดสอบหาค่าความหนาแน่น การทดสอบการดูดซึมน้ำ การทดสอบกำลังรับแรงอัด โดยใช้มอร์ต้าร์ขนาด 5×5×5 ลูกบาศก์เซนติเมตร และกำลังรับแรงดัดโดยใช้มอร์ต้าร์ขนาด 4×4×4 ลูกบาศก์ เซนติเมตร จากการทดสอบพบว่าเมื่อผสมกากปูนขาวร้อยละ 10 จะมีกำลังรับแรงอัดและกำลังรับแรงดัดสูงที่สุด ส่วนค่าความหนาแน่นมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นตามปริมาณกากปูนขาวและพบว่าค่าการดูดซึมน้ำมีแนวโน้มลดลงตามปริมาณกากปูนขาวที่เพิ่มมากขึ้น จากการทดสอบต่างๆจะมีค่าเทียบเท่ากับมาตรฐานตาม มอก.1505-2541 ชั้นคุณภาพที่ 4 โดยในส่วนการนำบล็อกแก้วแทนที่ในเนื้อบล็อกคอนกรีตมวลเบาจะแทนที่ ร้อยละ 0 , 25 , 50 , 75 และ 100 โดยพื้นที่คอนกรีตมวลเบา ตามลำดับ จากการทดสอบหาคุณสมบัติสัมประสิทธิ์การนำความร้อน (k) JIS R 2618 และค่าการทนไฟพบว่าเมื่อผสมปริมาณกากปูนขาวร้อยละ 10 จะมีกำลังรับแรงอัดที่สุด ส่วนค่าความหนาแน่นมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นตามปริมาณกากปูนขาวและพบว่าค่าการดูดซึมน้ำมีแนวโน้มลดลงตามปริมาณกากปูนขาวที่เพิ่มขึ้น จากการทดสอบต่างๆ จะมีค่าเทียบเท่ากับมาตรฐานตาม มอก.1505–2541 ชั้นคุณภาพที่ 2 รวมทั้งการเสริมบล็อกแก้วในส่วนร้อยละ 75 จะเป็นการเสริมที่เหมาะสมที่สุดเนื่องจากมีความเป็นฉนวนของเนื้อคอนกรีตมวลเบารวมอยู่ด้วยและตรงตามมาตรฐานแสงส่งผ่านบล็อกแก้วen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีen_US
dc.language.isoThen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. ภาควิชาวิศวกรรมโยธาen_US
dc.subjectคอนกรีตมวลเบา -- วิจัยen_US
dc.subjectบล็อกมวลเบาen_US
dc.titleการพัฒนาบล็อกแก้วคอนกรีตมวลเบาโดยการผสมจากเตาปูนขาว-ผลพลอยได้จากกากอุตสาหกรรมผลิตกระดาษen_US
dc.title.alternativeDevelopment of light weight concrete glass block made from lime kiln dust-by products of manufacturing industryen_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:วิจัย (Research - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Development of light weight concrete glass block made...pdfการพัฒนาบล็อกแก้วคอนกรีตมวลเบาโดยการผสมจากเตาปูนขาว..6.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.