Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/543
Title: | แรงจูงใจการเลือกศึกษาต่อของนักศึกษาหลักสูตรปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล |
Other Titles: | A moivation for choosing in the bachelor degree in technical education program of the students in Retjamangkala university of thchnology |
Authors: | ทรงธรรม ดีวาณิชสกุล อัคครัตน์ พูลกระจาง |
Keywords: | แรงจูงใจในการศึกษาต่อ การศึกษาต่อ |
Issue Date: | 2551 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาคุรุศาสตร์เครื่องกล |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการเลือกศึกษาต่อของนักศึกษาหลักสูตรปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ นักศึกษาหลักสูตรปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต ชั้นปีที่ 1 จำนวน 214 คน การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling ) โดยใช้ตารางกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ Krejcie และ Morgan เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) 5 ระดับ การเก็บรวบรวมข้อมูลผู้วิจัยได้แจกแบบสอบถามไปยังกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 214 ฉบับ ได้รับแบบสอบถามกลับคืนเป็นฉบับที่สมบูรณ์จำนวน 197 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 92.01 การวิเคราะห์ผลโดยวิธีหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลจากการวิจัยแรงจูงใจในการเลือกศึกษาต่อของนักศึกษาหลักสูตรปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เรียงตามลำดับแรงจูงใจในการเลือกศึกษาต่อของนักศึกษาเป็นรายด้านได้ดังนี้ ด้านสถานศึกษา คือ สถานศึกษามีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักของสังคม ด้านความคิดเห็นส่วนตัว คือ อาชีพครูมีความมั่นคง และด้านครอบครัวและบุคคลรอบข้าง คือ ผู้ปกครองต้องการให้ท่านเรียนครุศาสตร์อุตสาหกรรม |
URI: | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/543 |
Appears in Collections: | วิจัย (Research-TECHED) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
1Front.pdf | แรงจูงใจการเลือกศึกษาต่อของนักศึกษาหลักสูตรปริญญาครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล | 1.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.