Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4237
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชยณัฐ เขียวขจร-
dc.date.accessioned2023-10-02T07:40:38Z-
dc.date.available2023-10-02T07:40:38Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4237-
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทักษะผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษาปราจีนบุรี นครนายก และ 2) เปรียบเทียบทักษะผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปราจีนบุรี นครนายก จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปราจีนบุรี นครนายก ปีการศึกษา 2563 จำนวน 302 คน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า 1) ทักษะผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ปราจีนบุรี นครนายก โดยรวมอยู่ในระดับมาก ทั้งในภาพรวมและรายด้าน และ 2) ผลการเปรียบเทียบทักษะผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปราจีนบุรี นครนายก จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en
dc.description.abstractThis research aimed to: 1) investigate the school administrator skills under the Secondary Educational Service Area Office Prachinburi, Nakhon Nayok, and 2) compare the school administrator skills under the Secondary Educational Service Area Office Prachinburi, Nakhon Nayok categorized by school size, educational level, and work experience. The research samples consisted of 302 teachers under the Secondary Education Service Area Office Prachinburi, Nakhon Nayok in the academic year 2020, derived from multistage sampling technique. The instrument for collecting data was a questionnaire. To analyze the data, the researcher employed the statistical devices consisting of frequency, percentage, mean, standard deviation, and analysis of variance (ANOVA). The research results revealed that: 1) the school administrator skills under the Secondary Educational Service Area Office Prachinburi, Nakhon Nayok were at a high level in an overview and some specific areas. 2) Regrading to the comparison of the school administrator skills under the Secondary Educational Service Area Office Prachinburi, Nakhon Nayok, categorized by school size, educational level, and work experience, there were no statistically significant difference among the groups studied at the .05 level.en
dc.language.isoThaien
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์ศาสตร์. สาขาวิชาการบริหารการศึกษาen
dc.subjectสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาen
dc.subjectปราจีนบุรีen
dc.subjectนครนายกen
dc.subjectทักษะผู้บริหารen
dc.subjectการบริหารen
dc.subjectthe secondary educational service area office Prachinburien
dc.subjectNakhon Nayoken
dc.subjectadministrator skillsen
dc.subjectadministrationen
dc.titleทักษะผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปราจีนบุรี นครนายกen
dc.title.alternativeSchool administrator skills under the secondary educational service area office Prachinburi, Nakhon Nayoken
dc.typeThesisen
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-175383.pdfทักษะผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาปราจีนบุรี นครนายก2.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.