Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3693
Title: | การประเมินกระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจ์และกระบวนการโฟโตคะตะลิติกจากการสลายตัวสารพิษและความเป็นพิษทางชีวภาพภายใต้เวลากักเก็บน้ำที่แตกต่างกันในการบำบัดน้ำชะขยะ |
Other Titles: | Evaluation of activated sludge and photocatalytic processes to micropollutant degradation and biotoxicity assessment under different hydraulic retention time in leachate treatment |
Authors: | พิทักษ์พร ฐานกุลกิจ |
Keywords: | กระบวนการโฟโตคะตะลิติก การบำบัดน้ำชะขยะ แอกทิเวเต็ดสลัดจ์ photocatalytic leachate treatment activated sludge |
Issue Date: | 2562 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิศวกรรมโยธา |
Abstract: | งานวิจัยนี้ได้เล็งเห็นถึงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติในปัจจุบันว่าน้ำชะขยะจากหลุมฝังกลบนั้นเป็นปัญหาสำคัญที่ยากต่อการบำบัดจึงจำเป็นต้องหาวิธีบำบัดเพื่อให้สามารถปล่อยลงสู่แหล่งน้ำสาธารณะได้ งานวิจัยนี้จึงทำการศึกษาประสิทธิภาพในการบำบัดด้วยกระบวนการแอคติเวเต็ดสลัดจ์ร่วมกับกระบวนการโฟโตคะตาไลติกในการบำบัดน้ำชะขยะ
ทำการศึกษาประสิทธิภาพจากการตรวจสอบลักษณะคุณสมบัติของน้ำชะขยะก่อนและหลังการบำบัดด้วยระบบแอคติเวเต็ดสลัดจ์ร่วมกับกระบวนการโฟโตคะตะลิติกในระยะเวลาการกักเก็บที่ 24 และ 18 ชั่วโมง เพื่อประเมินน้ำที่ผ่านการบำบัดด้วยการเลี้ยงปลา
ผลจากการศึกษา พบว่า ในแง่ของประสิทธิภาพการกำจัดสารพิษ กระบวนการแอคติเวเต็ดสลัดจ์ร่วมกับกระบวนการโฟโตคะตาไลติก สามารถกำจัดสารพิษและความเป็นพิษทางชีวภาพ โดยกำจัดสารประกอบที่เป็นพิษสูงสุด ได้แก่ BPA, 2,6DTBP, DBP, DEHP มีประสิทธิภาพได้มากถึง 100 เปอร์เซ็นต์ และ DEET มีประสิทธิภาพได้มากถึง 95 เปอร์เซ็นต์ ที่ในค่าเวลากักเก็บที่ HRT 18 ชั่วโมง (Activated sludge) + 6 ชั่วโมง (Photocatalytic) แต่เมื่อพิจารณาจากอัตราการตายของปลา พบว่า อัตราการตายของปลาที่น้อยที่สุด ในค่าเวลากักเก็บที่ HRT 24 ชั่วโมง (Activated sludge) This research recognizes the current natural environment that leachate from landfills is a major problem that is difficult to treat, so it is necessary to find a way to treat it to be released into public water sources. That led to this research to investigate an effectiveness of activated sludge combined with photocatalytic processes in treating leachate. In order to investigate an efficiency of the treatment, the characterization of leachate before and after with activated sludge and photocatalytic processes was examined in the retention period of 24 and 18 hours to assess treated water with aquatic environment (common carp). The findings showed that in terms of the efficiency of micropollutant biodegradation, the activating sludge with photocatalytic process had the highest treatment efficiency were : BPA, 2,6DTBP, DBP, DEHP with up to 100 Percent and DEET up to 95 Percent of HRT 18 hours (Activated sludge) + 6 hours (Photocatalytic). For biotoxicity assessment via fish mortality, it was found that the HRT 24 hour of activated sludge more friendly to aquatic environment. |
URI: | http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3693 |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RMUTT-167607.pdf | การประเมินกระบวนการแอกทิเวเต็ดสลัดจ์และกระบวนการโฟโตคะตะลิติกจากการสลายตัวสารพิษและความเป็นพิษทางชีวภาพภายใต้เวลากักเก็บน้ำที่แตกต่างกันในการบำบัดน้ำชะขยะ | 13.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.