Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3599
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สรสุดา ชูกลิ่น | - |
dc.date.accessioned | 2020-06-11T05:21:35Z | - |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:53:49Z | - |
dc.date.available | 2020-06-11T05:21:35Z | - |
dc.date.available | 2020-09-24T04:53:49Z | - |
dc.date.issued | 2559 | - |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3599 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง “ความพึงพอใจในงาน ที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี” เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาผลของความพึงพอใจในงานที่มีอิทธิพลต่อต่อการแสดงพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การของบุคลากรบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ซึ่งรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีสายสนับสนุนซึ่งสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 132คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลสามารถสรุปได้ดังนี้ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมีจำนวน 105 คน อายุผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุดอยู่ในช่วงอายุ 26-30 ปี ระดับการศึกษา พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุดอยู่ในระดับปริญญาตรี มีจำนวน 93 รายได้ของผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุด คือ มีรายได้ต่อเดือนอยู่ระหว่าง 20,001-25,000 บาท ประสบการณ์ในการปฏิบัติงานอันดับแรกประสบการณ์น้อยกว่า 6 ปี มีจำนวน 57 คน ประเภทบุคลากร พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมากที่สุดเป็นประเภทลูกจ้างชั่วคราว มีจำนวน 62 คน ผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นต่อความพึงพอใจ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ในรายข้อพบว่า ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ความรู้สึกภาคภูมิใจและปลาบปลื้มในผลสำเร็จของงาน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ผลการวิเคราะห์ระดับความคิดเห็นต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ ในภาพรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก ในรายด้านด้านความสำนึกในหน้าที่ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ความพึงพอใจภายนอกงานโดยรวมและรายด้านมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การ ความพึงพอใจมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การโดยมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ(R2) เท่ากับ .604 และสามารถทำนายค่าสมการของการวิเคราะห์ได้(Adjust R2) เท่ากับร้อยละ 35.9 | en_US |
dc.description.abstract | Research "Job satisfaction" Influence of good behavior of personnel of Rajamangala University of Technology Thanyaburi ". The purpose is To study the effects of job satisfaction on the performance for good organizational behavior of personnel of Rajamangala University of Technology Thanyaburi. The research instrument was a questionnaire. The data collected from the sample were personnel working at Rajamangala University of Technology Thanyaburi. The sample was 132 randomly assigned. The statistics used for data analysis were percentage, mean, standard deviation Pearson's product moment correlation coefficient and stepwise multiple regression analysis. The results of the analysis can be summarized as follows. Most of the samples were 105 females. The age of respondents was 26-30 years old. Most respondents ranked first in the bachelor category, with 93 of the respondents. They have income the most. 20,001-25,000 Baht per month. Experience in the operation of the respondents is the first, the experience is less than 6 years, there are 57 people. They are respondents is the first. It was found that 62 respondents were most likely to be temporary employees. The overall level is very high. In the article, it was found. The highest average is feeling proud and ecstatic in the success of the work. Has the highest average Analyzing the level of opinions on good organizational behavior. The overall picture is very agreeable. In each aspect of the sense of duty has the highest average The results of the hypothesis test showed that External and total job satisfaction were positively correlated with good organizational behavior. Satisfaction influenced the good organizational behavior of the organization with the coefficient of correlation (R2) of .604 and could predict the value of the analysis (Adjust R2) at 35.9 percent. | - |
dc.description.sponsorship | ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประจำปี พ.ศ. 2559 | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. สถาบันวิจัยและพัฒนา. | en_US |
dc.subject | ความพึงพอใจในงาน | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดี | en_US |
dc.title | ความพึงพอใจในงานที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | en_US |
dc.title.alternative | Job satisfaction on organizational citizenship behaviors: a staffs of Rajamangala University of Technology Thanyaburi. | en_US |
dc.type | Research | en_US |
Appears in Collections: | วิจัย (Research - IRD) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
20220919-Research2-Sornsuda K..pdf | ความพึงพอใจในงานที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของบุคลากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี | 2.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.