Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3523
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุนิสา เนรจิตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-11-22T02:48:49Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:50:34Z | - |
dc.date.available | 2019-11-22T02:48:49Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:50:34Z | - |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3523 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนโดยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 กลุ่มควบคุม ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยวิธีสอนแบบปกติ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้เรียนวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการด้วยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนอ่างทองปัทมโรจน์วิทยาคม จังหวัดอ่างทอง ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561 จำนวน 2 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 40 คน ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยวิธีสอนแบบ สืบเสาะหาความรู้ตามแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E จำนวน 7 แผน 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์แบบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ 3) แบบ สอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามแบบวัฎจักรการเรียนรู้ 7E สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย (x̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 กลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาประวัติศาสตร์หลังเรียนสูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 3) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E อยู่ในระดับมาก | en_US |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to 1) compare the learning achievements in the subject of History of Secondary 5 (grade 11) students before and after implementing the inquiry model of 7E learning cycle, 2) compare the learning achievement in the subject of History of Secondary 5 (Grade 11) students in the experimental group who were taught by the inquiry model of 7E learning cycle and that of the control group taught by the conventional teaching method, and 3) study the students’ satisfaction towards the learning management in the subject of History of Secondary 5 (Grade 11) students who were taught by the inquiry model of 7E learning cycle. The samples were comprised of Secondary 5 students at Angthong Pathamaroj Wittayakhom School, Ang Thong Province. They were studying in the second semester of academic year 2018. There were two classrooms with 40 students per class. The samples were derived from the use of the Cluster Random Sampling method. The research instruments included 1) the learning management plan by using the inquiry model of 7E learning cycle, seven units; 2) the multiple-choice achievement test with four choices, 20 items; and 3) the student satisfaction questionnaire on learning by using the learning management, the inquiry model of 7E learning cycle. The data were analysed using mean (x̅), standard deviation (S.D.) and t-test. The findings revealed that 1) the learning achievement in the subject of History of Secondary 5 (Grade 11) students taught by the inquiry model of 7E learning cycle was higher than before using the model, at a statistical significance level of 0.05, 2) the Secondary 5 (Grade 11) students taught by the inquiry model of 7E learning cycle had a higher learning achievement in the subject of History than those taught in the control group using the regular learning method, at a statistical significance level of 0.05, 3) the satisfaction of the Secondary 5 (Grade 11) students who were taught by the inquiry model of 7E learning cycle was at a high level. | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและนวัตกรรมการสอน | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้ | en_US |
dc.subject | วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E | en_US |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | en_US |
dc.title | การจัดการเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ โดยวิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ตามแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7E สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 | en_US |
dc.title.alternative | Learning Management of History Subject Using the Inquiry Model of 7E Learning Cycle for Secondary 5 (Grade 11) Students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RMUTT-161665.pdf | Learning Management of History Subject Using the Inquiry Model of 7E Learning Cycle for Secondary 5 (Grade 11) Students | 2.87 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.