Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3459
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนพรดา บุญหล่อวัฒนา
dc.date.accessioned2019-11-14T03:21:42Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:50:14Z-
dc.date.available2019-11-14T03:21:42Z
dc.date.available2020-09-24T04:50:14Z-
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3459-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ระดับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา 3) พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ครูประจำชั้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ปี การศึกษา 2560 จำนวน 300 คน ที่ได้จากการแบ่งชั้นภูมิตามสัดส่วนและสุ่มอย่างง่ายตามสัดส่วนประชากรแต่ละขนาดของโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารตามแนวคิดของกริฟฟิธส์ และการดำเนินการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามแนวคิดของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ทั้งโดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 2) การดำเนินการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 ทั้งโดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก 3) พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านการมีความคิดริเริ่ม ด้านการให้ความช่วยเหลือ ด้านการเข้าสังคมได้ดี ด้านการประสานงาน ด้านการให้การยอมรับนับถือ ส่งผลต่อการดาเนินการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2 โดยร่วมกันทำนายได้ร้อยละ 63 โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01en_US
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study 1) the level of administrative behavior of school administrators in schools under Pathum Thani Primary Educational Service Area Office 2, 2) the level of student care and support systems operation in the schools, and 3) the administrative behavior of the school administrators affecting the operation of student care and support systems. The sample group consisted of 300 class teachers selected by stratified random sampling, working in schools under Pathum Thani Primary Educational Service Area Office 2 in the academic year of 2017. The research instrument was a questionnaire constructed in accordance with Griffith’s management behavior viewpoints; and the guidelines of the Office of Basic Education Commission for the operation of student care and support systems. Frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple regression analysis were used in the data analysis. The results of the research show that 1) the administrative behavior of school administrators under Pathum Thani Primary Educational Service Area Office 2 were at a high level in overall and individual aspects, 2) the operation of student care and support systems in the schools were also highly rated, and 3) the administrative behavior of the school administrators on the aspects of creativity, assistance, social skills, cooperation, and trustworthiness affected the operation of student care and support systems with the predictive efficiency of 63% at a statistically significant level of 0.01en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาการบริหารการศึกษาen_US
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียน -- พฤติกรรมen_US
dc.subjectโรงเรียน -- การบริหารen_US
dc.subjectระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนen_US
dc.subjectพฤติกรรมการบริหารen_US
dc.titleพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการดำเนินการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2en_US
dc.title.alternativeAdministrative behavior of school administrators affecting student care and support systems in schools under Pathum Thani primary educational service area office 2en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-160351.pdfพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการดำเนินการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 263.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.