Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3333
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อติชาติ ศรีไวย์ | |
dc.date.accessioned | 2018-11-19T03:23:22Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T06:40:23Z | - |
dc.date.available | 2018-11-19T03:23:22Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T06:40:23Z | - |
dc.date.issued | 2560 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3333 | - |
dc.description.abstract | ปัจจุบันการใช้สารหล่อเย็นในงานตัดเฉือนเป็นปริมาณมาก มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและเป็นอันตรายต่อสุขภาพของคนงาน จึงมีการนำเสนอทางเลือกใหม่ๆ ของวิธีการหล่อเย็นในงานตัดเฉือนเพื่อลดปริมาณการใช้สารหล่อเย็น เช่น การหล่อเย็นโดยใช้สารหล่อเย็นปริมาณน้อย (MQL) การหล่อเย็นโดยใช้ลมและการไม่ใช้สารหล่อเย็น บทความนี้นำเสนอการเปรียบเทียบวิธีการหล่อเย็นในงานตัดเฉือนโดยใช้ลมเย็นจากท่อวอร์เท็กกับวิธีการหล่อเย็นแบบดั้งเดิมหรือแบบเปียกและการไม่ใช้สารหล่อเย็น (วิธีแบบแห้ง) โดยทดลองประสิทธิภาพการหล่อเย็นในงานกลึงสแตนเลส SUS 316 ใช้เม็ดมีดกลึงอินเสิร์ท แบบเซอร์เมท (Cermet) ปัจจัยในการตัดเฉือนที่ใช้ในการทดลองได้แก่ความเร็วตัด 50 65 และ 80 เมตรต่อนาที อัตราป้อน 0.085 0.13 และ 0.18 มิลลิเมตรต่อรอบ โดยใช้ความลึกในการกลึง 1 มิลลิเมตร ประสิทธิภาพของวิธีการหล่อเย็นทั้งสามวิธีตรวจสอบโดยการวัดความหยาบผิวของชิ้นงานวัดการสึกหรอของมีดกลึงและใช้ไดนาโมมิเตอร์แบบวัดแรงตัด 3 แกน จากผลการทดลองพบว่าวิธีการหล่อเย็นโดยใช้ลมเย็นจากท่อวอร์เท็กให้ค่าความหยาบผิวและการสึกหรอของมีดกลึงอยู่ระหว่างวิธีการหล่อเย็นแบบเปียก (แบบดั้งเดิม) และวิธีการหล่อเย็นแบบไม่ใช้สารหล่อเย็น (แบบแห้ง) | en_US |
dc.description.abstract | Recently, there is a great deal of using cutting fluid in shearing posing danger to environment and laborers’ health. Accordingly, many alternative solutions have been sought to minimize the use of cutting fluid in shearing such as minimum quantity lubrication (MQL), air jet cooling, and dry cooling. This study aimed to compare three cooling methods: cool air from vortex, cutting fluid, and dry cooling. The effectiveness of cooling methods was experimented in stainless lathe SUS316 using cermet cutting tool. The factors of shearing in the experiment were cutting speed (50, 65, and 80 meter per minute) and feed rate (0.085, 0.13 and 0.18 millimeter per time). The depth of shaping was 1 millimeter. The effectiveness of those 3 methods was investigated by surface roughness, cutting tool erosion, and cutting force. The results showed that the values of surface roughness and cutting tool erosion from using cool air from vortex were the values between cutting fluid and dry cooling. | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต | en_US |
dc.subject | กระบวนการหล่อเย็น | en_US |
dc.subject | เหล็ก – การหล่อ | en_US |
dc.subject | เหล็กกล้าไร้สนิม | en_US |
dc.subject | การหล่อเย็น | en_US |
dc.title | การศึกษาเปรียบเทียบวิธีการหล่อเย็นงานกลึงเหล็กกล้าไร้สนิม SUS 316 | en_US |
dc.title.alternative | Comparative study of cooling method in turning process of SUS 316 stainless steel | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RMUTT-158685.pdf | การศึกษาเปรียบเทียบวิธีการหล่อเย็นงานกลึงเหล็กกล้าไร้สนิม SUS 316 | 8.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.