Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/332
Title: การพัฒนาน้ำปรุงจากไม้หอมไทย
Other Titles: Alchemy Development of Thai Classical Perfume
Authors: ไศลเพชร ศรีสุวรรณ
สุภา จุฬคุปต์
Keywords: ไม้หอม-- การวิเคราะห์-- วิจัย
Issue Date: 2552
Publisher: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์. สาขาคหกรรมศาสตร์
Abstract: งานวิจัยครั้งนี้กระทำโดยการทดลองและการสำรวจ โดยการใช้ไม้หอมไทย 3 ชนิดที่หาง่ายในท้องถิ่น สกัดด้วยแอลกอฮอล์ 90% ผสมสมุนไพรและเครื่องหมอหมักทิ้งไว้จนครบเวลาที่กำหนด บรรจุในขวดทอลอง นำไปให้ประชาชนผู้ในใจจำนวน 200 คน และผู้เชี่ยวชาญจำนวน 10 คน ทำการทอสอบความพึงพอใจและตอบแบบสอบถาม นำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ทางสถิติโดยการหาค่าเฉลี่ยแล้วนำผลมากสรุป ผู้ทำการตอบสอบถามส่วนใหญ่ 86.00% เป็นเพศหญิงที่มีอายุ 30 ปีหรือต่ำกว่า เป็นจำนวน 49.70% มีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี 61.00% และ 56.50% เป็นคนโสด มีรายได้ต่อเดือนต่ำกว่า 10,000 บาท 30.50% ไม่เคยใช้น้ำปรุงมาก่อนเป็นจำนวน 57.50% เคยใช้น้ำหอมต่างประเทศเป็นประจำ 53.80% ราคาของน้ำหอมที่ต้องการ อยู่ระหว่าง 100-500 บาท เป็นจำนวน 44.50% ความพึงพอใจในน้ำปรุงจากไม้หอมไทย น้ำปรุงจากไม้หอมแบบไทย B มีค่าเฉลี่ย 3.62 มีความพึงพอใจสูงที่สุด รองลงมาคือน้ำปรุงจากไม้หอมไทยแบบ C มีค่าเฉลี่ย 3.59 คือ มีความพึงพอใจในระดับสูง ระดับความพึงพอใจในแบบ A มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ 3.13 แต่มีความพึงพอใจอยู่ในระดับสูงเช่นกัน ความพึงพอใจใน ด้านกลิ่น ของน้ำหอมปรุงจากไม้หอม พบว่า น้ำปรุงจากไม้หอมไทยแบบ B มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3.98 มีความพึงพอใจในระดับสูง รองลงมาคือน้ำปรุงจากไม้หอมไทยแบบ C มีค่าเฉลี่ย มีความพึงพอใจในระดับสูง มีค่าเฉลี่ย 3.93 และแบบ A มีค่าเฉลี่ย 3.02 มีความพึงพอใจในระดับสูงเช่นกัน เมื่อเปรียบเทียบใน ด้านสี ของน้ำปรุงจากไม้หอมไทย พบว่าน้ำปรุงจากไม้หอมไทย สูตร B มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจมากที่สุด คือ 3.25 ซึ่งมีความพึงพอใจอยู่ในระดับสูงมาก ส่วนน้ำปรุงจากไม้หอมแบบ C มีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจในระดับสูงเท่ากันกับสูตร B คือ 3.25 และ น้ำปรุงจากไม้หอมไทยแบบ A มีค่าเฉลี่ย 3.23 ซึ่งมีความพึ่งพอใจในระดับสูง เช่นกัน
The object of this research is to help maintain and develop Thai traditional perfume products by using present day technology. This will help to discover and produce new perfume products from local Thai materials to preserve and promote Thai culture through Thai products with an international standard. Research to discover the needs of the consumer market have been done through researched survey. In the survey, three kinds of local Thai fragrances were used, made from herbal extracts, wood, and 90% alcohol mixed and preserved until the proper time. 200 people and 10 specialists were surveyed to try all three kinds of perfumes and fill out a survey. After all the information was gathered, the statistics were analyzed. The results of the perfume product survey pointed out that 86.00% of consumer market were female. 49.70% of the women surveyed are 30 years old or younger. For education, 61.00% had a Bachelor degree. Also 56.50% of the women were single. Those with an income range lower than 10,000 baht/month was only 30.50% . 57.50% had never used Thai classical perfume before, however 53.80% have been using imported perfume. Perfume price selection between 100-500 Baht 44.50%. For satisfaction in all, B received the highest rating of 3.62 out of 4. C had a rating of 3.59 and A was 3.13. For satisfaction in the perfume, B rating of satisfaction, 3.25. The highest overall (smell) satisfaction rating of the consumer to Thai Classical perfume was B, which held a satisfaction rating of 3.98 out of 4. The second was C 3.93 and A rating 3.02. The highest overall of colour satisfaction rating of the consumer to Thai classical perfume was B and C which held a satisfaction rating of 3.25 out of 4. The second was A, which had 3.23.
URI: http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/332
Appears in Collections:วิจัย (Research - HET)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
03.Abstract.pdfAlchemy Development of Thai Classical Perfume265.85 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.