Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3249
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพรศิริ หลงหนองคูณ
dc.date.accessioned2018-10-22T02:34:08Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:41:11Z-
dc.date.available2018-10-22T02:34:08Z
dc.date.available2020-09-24T04:41:11Z-
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3249-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการแยกเส้นใยใบอ้อยด้วยวิธีทางเคมีปริมาณสารฟอกขาวที่เหมาะสม อัตราส่วนผสมของเส้นใยใบอ้อยและเส้นใยฝ้ายที่เหมาะสมและการทดสอบสมบัติทางกายภาพของเส้นด้ายผสมเส้นใยใบอ้อยและเส้นใยฝ้าย วิธีการวิจัย คือ การศึกษากระบวนการแยกเส้นใยใบอ้อยด้วยวิธีทางเคมี มี 2 ปัจจัย คือ ปริมาณโซเดียมไฮดรอกไซด์ แปรเป็น 4 ระดับ คือ ร้อยละ 0.1 0.2 0.3 และ 0.4 ของน้ำหนักใบอ้อยสด และเวลาในการต้ม แปรเป็น 3 ระดับ คือ 30 60 และ 90 นาที วางแผนการทดลองแบบ Factorial in CRD โดยวิเคราะห์ร้อยละของผลผลิตสูงสุด การศึกษาปริมาณสารฟอกขาวที่เหมาะสม คือ ปริมาณไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์แปรเป็น 2 ระดับ คือ ร้อยละ 0.25 และ 0.50 และนำไปวัดค่าสี L* a* b* ทดสอบความแตกต่างความสว่างของสีด้วยสถิติ T-test การศึกษาอัตราส่วนผสมของเส้นใยใบอ้อยและเส้นใยฝ้ายที่เหมาะสม คือ ปริมาณเส้นใยใบอ้อย แปรเป็น 5 ระดับ คือ 10:90 20:80 30:70 40:60 และ 50:50 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์Completely Randomized Design: CRD จากนั้นนำไปปั่นเส้นด้ายด้วยวิธีการปั่นมือ และการทดสอบสมบัติทางกายภาพของเส้นด้ายผสมเส้นใยใบอ้อยและเส้นใยฝ้าย ด้วยมาตรฐานการทดสอบของ ASTM ผลการวิจัย พบว่า กระบวนการแยกเส้นใยใบอ้อยด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ร้อยละ 0.4 ของน้ำหนักใบอ้อยสด และเวลาในการต้ม 90 นาที มีร้อยละของผลผลิตสูงสุดร้อยละ 0.50 ผลการศึกษาปริมาณสารฟอกขาวด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ร้อยละ 0.50 มีค่าความสว่างของสี 68.97 ผลการศึกษาอัตราส่วนผสมของเส้นใยใบอ้อยและเส้นใยฝ้าย พบว่า อัตราส่วนในการผสมเส้นใยใบอ้อยและเส้นใยฝ้ายร้อยละ10:90 มีความเหมาะสมในการปั่นมือมากที่สุด และผลการทดสอบสมบัติทางกายภาพของเส้นด้ายผสมเส้นใยใบอ้อยและเส้นใยฝ้าย พบว่า ความสม่ำเสมออยู่ในระดับ Grade F ความแข็งแรงต่อแรงดึงขาด 142.71 N การยืดตัวก่อนขาดร้อยละ 139.55 เบอร์ 4.44 Ne เกลียว 9.60 เกลียวต่อนิ้ว และความหยิกงอร้อยละ 30.02en_US
dc.description.abstractThe objectives of this research were to study the separation process of sugarcane leaf fiber by chemical methods, the appropriate amount of bleaching, the suitable ratio of sugarcane leaf fiber and cotton fiber; and to examine the physical properties of the yarn blended with sugarcane leaf fiber and cotton fiber. The methodology focused on the study of the separation process of sugarcane leaf fiber by chemical methods. There were two factors in the study: the amount of sodium hydroxide used 0.1, 0.2, 0.3 and 0.4% of the weights of the fresh sugarcane leaves, and the boiling time 30, 60 and 90 minutes. Factorial experiment in Completely Randomized Design (CRD) was used to find the maximum percentages of products. Moreover, the appropriate amount of bleaching chemical, 0.25% and 0.50% of hydrogen peroxide, was studied. Then, the color differences of the yarn was identified using L*a*b* coordinate and the brightness of the yarn was compared using T-test. In addition, the different ratios of sugarcane leaf fiber and cotton fiber 10:90, 20:80, 30:70, 40:60, and 50:50 were examined using CRD. Next, the fibers were hand spun and the blended yarn physical properties were tested based on ASTM standards. The results revealed that the use of sodium hydroxide at 0.4% of the weights of the fresh sugarcane leaves and the 90 minute boiling time yielded the maximum percentages of products at 0.50%. The use of 0.50% hydrogen peroxide as bleaching chemical could produce the brightness level of 68.97. The most suitable ratio of sugarcane leaf fiber and cotton fiber for hand spun yarn was 10:90. The physical properties of the blended yarn were as follows: the evenness of the yarn was grade F, the yarn tensile strength was at 142.71 N, the breaking elongation of the yarn was 139.55%, the yarn number was 4.44 Ne, the yarn twist was 9.60 TPI, and the yarn crimp was 30.02%.en_US
dc.language.isothaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะเทคโนโลยีเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์. สาขาวิชาเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectเส้นใยใบอ้อยen_US
dc.subjectเส้นใยฝ้ายen_US
dc.subjectปั่นมือen_US
dc.subjectเส้นด้ายen_US
dc.subjectสมบัติทางกายภาพen_US
dc.subjectการปั่นมือen_US
dc.subjectเส้นใย -- การทดสอบสมบัติทางกายภาพen_US
dc.titleการพัฒนาเส้นด้ายผสมปั่นมือจากเส้นใยใบอ้อยและเส้นใยฝ้ายen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Hand Spun Blended Yarn from Sugarcane Leaf Fiber and Cotton Fiberen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - HET)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT158661.pdfDevelopment of Hand Spun Blended Yarn from Sugarcane Leaf Fiber and Cotton Fiber6.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.