Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/288
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิทยา ทวีนุช
dc.contributor.authorสถิรวงศ์ แจ่มจรรยา
dc.contributor.authorสุขุมวัฒน์ พีระพันธุ์
dc.contributor.authorฉวีวรรณ บุญเรือง
dc.date.accessioned2011-12-29T08:01:33Z
dc.date.accessioned2020-09-24T07:35:12Z-
dc.date.available2011-12-29T08:01:33Z
dc.date.available2020-09-24T07:35:12Z-
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/288-
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพเบื้องต้นของสารสกัดจากข่าในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราและเชื้อแบคที่เรียสาเหคุโรคพืชสำคัญบางชนิดและเพื่อประเมินประสิทธิภาพของสารสกัดจากข่าในการลดการเกิดโรคที่เกิดจากเชื้อราและเชื้อแบคทีบางชนิดบนพืช วิธีดำเนินการวิจัย การเตรียมสารสกัดจากข่าโดยใช้ข่าแห้ง 200 กรัมต่อน้ำ 1 ลิตร แช่ไว้ 24 ชั่วโมง และกรองเอาน้ำที่มีสารสกัดจากข่ามาใช้ทดสอบ ระยะเวลาที่ทำการวิจัยและสถานที่ ตั้งแต่ เดือนตุลาคม 2547 ถึงเดือนกันยายน 2549 รวมระยะเวลา 2 ปี ณ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตปทุมธานี วิทยาเขตอยุธยาหันตรา วิทยาเขตพิษณุโลก วิทยาเขตสุรินทร์ และวิทยาเขตกาฬสินธุ์ ในการศึกษาผลของสารน้ำมันหอมระเหยจากข่าเพื่อควบคุมโรค Canker ของมะกรูดพบว่าสารน้ำมันหอมระเหยจากข่าทุกระดับความเข้มข้นที่ทดสอบไม่สามารถควบคุมโรค canker ได้ โดยพบว่าทุกระดับความเข้มข้นเป็นโรค 100% ดังนั้น สารน้ำมันหอมระเหยจากข่าจึงไม่เหมาะต่อการนำมาใช้เพื่อควบคุมโรค canker ในการศึกษาผลของสารน้ำมันหอมระเหยจากข่าเพื่อควบคุมโรคเน่าและผักกาดขาวปลี พบว่าสารน้ำมันหอมระเหยจากข่าที่ระดับความเข้มข้นสูงสุดที่ใช้ในการทดลองคือ 5,000 ppm. มีแนวโน้มให้ผลดีที่สุด คือมีเปอร์เซนต์การเกิดโรคเพียง 13.67 % อย่างไรก็ตามไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติกับการใช้สารน้ำมันหอมระเหยจากข่า ที่ระดับความเข้มข้นอื่นๆ และการไม่ใช้สารน้ำมันหอมระเหย ดังนั้น หากใช้สารน้ำมันหอมระเหยจากข่าที่ระดับความเข้มข้นสูงกว่า 5,000 ppm. อาจให้ผลดีในการควบคุมโรคเน่า...en_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.คณะเทคโนโลยีการเกษตรen_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.คณะเทคโนโลยีการเกษตรen_US
dc.subjectน้ำมันหอมระเหย -- วิจัยen_US
dc.subjectข่าen_US
dc.subjectโรคพืชen_US
dc.titleการใช้ประโยชน์จากสารสกัดจากข่าในการป้องกันกำจัดโรคพืชen_US
dc.title.alternativeThe use of extract of greater galangal[languas galanga] for plant disease controlen_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:วิจัย (Research - AGR)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
การใช้ประโยชน์จากสารสกัดจากข่าในการป้องกันกำจัดโรคพืช.pdfThe use of extract of greater galangal[languas galanga] for plant disease control718.32 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.