Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/262
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชวลิต แสงสวัสดิ์
dc.contributor.authorเฉลิม มัติโก
dc.contributor.authorจุไรรัตน์ ดวงเดือน
dc.contributor.authorวีรศักดิ์ หมู่เจริญ
dc.contributor.authorสุรศักดิ์ ทรัพย์วัฒนาการ
dc.date.accessioned2011-12-26T08:46:26Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:57:37Z-
dc.date.available2011-12-26T08:46:26Z
dc.date.available2020-09-24T04:57:37Z-
dc.date.issued2549
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/262-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการพัฒนาสูตรคอมเปานด์สำหรับงานอัดรีดหวายเทียม โพลิโพรพีลีนที่ใช้ในการศึกษาคือ EL-Pro P401S มีความหนาแน่น 0.91 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร ค่าดัชนีการไหล 2.4 กรัม ต่อ 10 นาที ผงไม้ที่ใช้คือ Arbocel RC มีอนุภาค 50-70 เมช (200-300um) ทำการผสมสูตคอมเปานด์โดยใช้โพลิโพรพีลีนที่ 50% 60% และ 70% โดยน้ำหนัก ผสมกับผงไม้ในปริมาณ 50% 40% และ 30% โดยน้ำหนัก ตามลำดับ และสารประสาน (Exxelor PO 1020) กับสารหล่อลื่น (struktol TPW 113) ในปริมาณที่เท่ากัน คือ 2.5 phr เริ่มต้นโดยการอบผงไม้ที่อุณหภูมิ 80 ºC เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นทำการผสมส่วนประกอบต่างๆด้วยเครื่องบดสองลูกกลิ้งตามสัดส่วนของแต่ละสูต นำตัวอย่างที่ได้ไปบดด้วยเครื่องบดแบบหยาบ จะได้เม็ดคอมเปานด์ของแต่ละสูตร นำมาทดสอบหาความหนาแน่นและค่าดัชนีการไหล สุดท้ายนำไปผลิตด้วยวิธีการอัดรีดพลาสติกพบว่าการเพิ่มปริมาณผงไม้ที่ผสมกับโพลิโพรพีลีนมีผลต่อคอมเปานด์คือ ทำให้ความหนาแน่นเพิ่มขึ้น ความหนีดเพิ่มขึ้น ค่าดัชนีการไหลลดลง และผลิตภัณฑ์หวายเทียมที่ได้จากการอัดรีดจะมีอัตราการบวมตัวลดลงด้วยen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีen_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีen_US
dc.subjectโพลิโพรฟิลีน -- วิจัยen_US
dc.subjectหวายเทียมen_US
dc.titleการพัฒนาสูตรคอมเปานด์สำหรับงานอัดรีดหวายเทียมจากโพลิโพรพีลีนen_US
dc.title.alternativeFormulation Development of Artificial Rattan Extrusion Compound from Polypropyteneen_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:วิจัย (Research)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.