Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2618
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอรรถพร อ่ำขวัญยืน
dc.date.accessioned2016-04-04T07:25:05Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:20:10Z-
dc.date.available2016-04-04T07:25:05Z
dc.date.available2020-09-24T04:20:10Z-
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2618-
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิต ผลิตภัณฑ์น้ำดื่มบรรจุขวดพลาสติก โดยใช้ทฤษฎีการผลิตแบบลีน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพโดยรวมในสายการผลิต และมุ่งเน้นขจัดความสูญเปล่า (Waste) ทั้งด้านลดเวลา ลดพนักงานผู้ปฏิบัติงาน และลดการจัดเก็บสินค้าบรรจุภัณฑ์ที่เป็นสินค้าคงคลัง ในขั้นตอนการลำเลียงขนส่ง-ขนย้าย บรรจุภัณฑ์ขวดน้ำดื่มพลาสติก (ขวดเปล่า) การศึกษาสภาพปัจจุบันพบความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในขั้นตอนการลำเลียงขนส่ง-ขนย้ายบรรจุภัณฑ์ขวดน้ำดื่มพลาสติก ทั้งหมด 4 ประเภท คือ การมีสินค้าคงคลังเกินความจำเป็น (Unnecessary Stock) การเคลื่อนไหวของร่างกายที่ไม่จำเป็น (Unnecessary Motion) การเคลื่อนย้ายและขนย้ายที่ไม่จำเป็น (Unnecessary Transportation) และจากการรอคอย (Idle Time) จึงทำการปรับปรุงโดยมุ่งเน้นขจัดความสูญเปล่าในกระบวนการผลิตโดยใช้ทฤษฏีการผลิตแบบลีนด้วยเทคโนโลยีสายการผลิตอัตโนมัติ สอดคล้องกับแนวทางการผลิตแบบทันเวลาพอดี ผลการศึกษาพบว่าหลังการปรับปรุงสามารถลดเวลาได้ 39.51 นาทีต่อกะ ลดพนักงานผู้ปฏิบัติงานได้ 15 คนต่อวัน และลดการจัดเก็บสินค้าบรรจุภัณฑ์ที่เป็นสินค้าคงคลังได้เท่ากับศูนย์ (zero inventory) ในขั้นตอนกระบวนการลำเลียงขนส่ง-ขนย้าย บรรจุภัณฑ์ขวดน้ำดื่มพลาสติก (ขวดเปล่า) ส่งผลทำให้ประสิทธิภาพโดยรวมในสายการผลิตเพิ่มสูงขึ้น คิดเป็นร้อยละ 9.68 และคิดเป็นมูลค่าที่ได้ทั้งหมดหลังจากการปรับปรุงต่อปี เท่ากับ 15,772,790.56 บาทen_US
dc.description.abstractThe objectives of this study were to improve the manufacturing process for PET-bottled drinking water product by using Lean manufacturing theory and to increase the overall efficiency of the production line by focusing on eliminating waste, reducing time, reducing head count, and reducing inventory space and transportation of empty PET drinking water bottle. Initially, there were 4 types of waste in the transportation process of empty PET drinking water bottle which were unnecessary stock, unnecessary motion, unnecessary transportation, and idle time. The improvement in the production process was done by focusing on eliminating waste using Lean manufacturing theory with line automation that conformed to just-in-time (JIT) production. After the improvement of the transportation process in the production line for empty PET drinking water bottles, the results found that the operation time was reduced 39.51 minutes per shift, the operation officers were reduced by 15 persons per day, and the inventory was reduced to zero inventory. Altogether, the overall efficiency in the production line increased by 9.68% which lead to total cost savings of Baht 15,772,790.56 per year.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. วิชาเอกการจัดการวิศวกรรมธุรกิจen_US
dc.subjectกระบวนการผลิตen_US
dc.subjectการผลิตแบบลีนen_US
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตน้ำดื่มบรรจุขวดพลาสติกโดยใช้ทฤษฎีการผลิตแบบลีนen_US
dc.title.alternativeIncreasing efficiency in the production process of pet-bottled drinking water using lean manufacturing theoryen_US
dc.typeIndependent Stuyen_US
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-147685.pdfการเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตน้ำดื่มบรรจุขวดพลาสติกโดยใช้ทฤษฎีการผลิตแบบลีน4.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.