Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2593
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorยงยุทธ สกุลชาตรี
dc.date.accessioned2015-12-25T07:27:20Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:39:08Z-
dc.date.available2015-12-25T07:27:20Z
dc.date.available2020-09-24T04:39:08Z-
dc.date.issued2558
dc.identifier.issn2351-0285
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2593-
dc.description.abstractศิลปะภาพพิมพ์หินกับกระบวนการเรียนการศึกษาในประเทศไทยมีอยู่ในสถาบันทางการศึกษาเพียงไม่กี่แห่งที่จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรสากล มีการให้การศึกษามาตรฐาน 4 กรรมวิธีหลัก คือ ภาพพิมพ์แกะไม้ (Woodcut) ภาพพิมพ์ร่องลึก (Etching) ภาพพิมพ์ซิลค์สกรีน (Silkscreen) หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าภาพพิมพ์ตะแกรงไหมและภาพพิมพ์หิน (Lithograph) กระบวนการเรียนการสอนดังกล่าวข้างต้นปรากฏอยู่ในสถาบันการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยที่เป็นที่ยอมรับในแวดวงทางการศึกษาศิลปะระดับประเทศและนานาชาติ อาทิเช่น มหาวิทยาลัยศิลปากรจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรศิลปะภาพพิมพ์ คณะจิตรกรรมประติมากรรม ภาพพิมพ์และภาพไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ภาควิชาวิจิตรศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะนฤมิตรศิลป์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์และที่คณะศิลปกรรมศาสตร์ หลักสูตรศิลปะภาพพิมพ์ และภาควิชาทัศนศิลป์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยได้เปิดทำการเรียนการสอนตามขั้นตอนเดียวกันกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ รูปแบบของกระบวนการในการเรียนรู้เชิงทฤษฎีและปฏิบัติตามมาตรฐานสากลนั้นนักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบัติตั้งแต่การศึกษาภาคทฤษฎีประวัติความเป็นมาของศิลปะภาพพิมพ์หินและภาคปฏิบัติโดยได้เรียนรู้กระบวนการการสร้างงานด้วยวัสดุเคมีภัณฑ์ที่เป็นมาตรฐาน เช่น แม่พิมพ์เทคนิคดินสอไข หมึกไข (Tusche) และเทคนิควิธีการประยุกต์ในปัจจุบันen_US
dc.description.abstractIn Thailand, there are few educational institutes which maintain standards of teaching and learning the process of a lithograph curriculum. To reach a standardized curriculum, four main processes are required to be taught; woodcutting, etching, silk screening, and lithograph. This process of learning and teaching can be seen in the universities or institutes which are recognized in the field of arts at national and international levels. Those are, for instance, Silpakorn University which offers a printmaking program, Chiang Mai University (the Faculty of Painting, Sculpture and Graphic Arts and the Faculty of Fine Arts), King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang (the Department of Fine Arts, the Faculty of Architecture), Chulalongkorn University (the Faculty of Creative Arts), Burapha University (the Faculty of Fine and Applied Arts), Bunditpatanasilpa Institute, and Rajamangala University of Technology Thanyaburi (the Faculty of Fine and Applied Arts which provides a printmaking program and the Department of Visual Arts). Additionally, Rajamangala University of Technology Thanyaburi offers a standardized curriculum like other universities. Following a standardized form of teaching and learning, students first learn theories and then put theminto practice. In theory, they study a history of lithograph, and in practice, they learn about a process of creating art work with standard chemical substances. For example, they learn about a litho-pencil technique, tusche, and current application techniques.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะศิลปกรรมศาสตร์. ภาควิชาทัศนศิลป์en_US
dc.subjectภาพพิมพ์หินen_US
dc.subjectlithographen_US
dc.titleภาพร่างในงานศิลปะภาพพิมพ์หิน (Lithograph) : กรณีศึกษา การเรียนภาพพิมพ์หิน คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีen_US
dc.title.alternativeSketch in lithograph : case study of learning lithograph the Faculty of Fine and Applied Arts, Rajamangala University of Technology Thanyaburien_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - FA)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-FA-2558, 147-169.pdfภาพร่างในงานศิลปะภาพพิมพ์หิน (Lithograph) : กรณีศึกษา การเรียนภาพพิมพ์หิน คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี897.13 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.