Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2460
Title: ปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ผ่านเว็บไซต์ : กรณีศึกษา ห้างหุ้นส่วนจำกัด เค.เอส.เอส.คอม
Other Titles: Factors affecting the adoption of human resource management system through the website : case study K.S.S.Com Limited Partnership
Authors: พงศ์ฉัตร ส่องแสง
วสันต์ กันอ่ำ
Keywords: งานบุคคลผ่านเว็บไซต์
leave online
Issue Date: 2556
Publisher: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ
Abstract: การค้นคว้าอิสระเรื่อง “พฤติกรรมที่มีผลต่อการยอมรับระบบสืบค้นหนังสือของสำนักวิทยบริการของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมที่มีผลต่อการยอมรับระบบสืบค้นหนังสือของสำนักวิทยบริการ ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ จำนวน 155 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแตกต่างใช้การทดสอบ Independent Samples t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยใช้วิธี Least Significant Difference (LSD) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ผลจากการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 18 - 20 ปี ชั้นปีที่ 2 มีรายได้ต่ำกว่า 5,000 บาท ใช้เวลาในการใช้งานระบบสืบค้นหนังสือตั้งแต่ 30 นาที - 1 ชั่วโมง ช่วงเวลาที่ใช้ในการสืบค้นหนังสือตั้งแต่ 12.01 - 16.00 น. ใช้งานระบบโดยเฉลี่ยต่อหนึ่งภาคการศึกษาต่ำกว่า 10 ครั้ง พบว่า การยอมรับในภาพรวมทั้ง 5 ขั้น อยู่ในระดับมาก นักศึกษาที่ใช้งานระบบบ่อยครั้งจะเกิดความสนใจระบบมากกว่าเพราะใช้งานบ่อยครั้งกว่าเกิดความเคยชินมากกว่าก็จะสนใจที่จะใช้ระบบในระดับที่มากกว่านักศึกษาที่ใช้งานระบบมีความสนใจที่จะทดลองใช้ระบบสืบค้นหนังสือ มีความสนใจที่จะเข้าฝึกอบรมเกี่ยวกับการใช้งานระบบสืบค้นหนังสือ และพยายามใช้งานระบบสืบค้นหนังสือเพื่อให้เกิดความเคยชิน
The purpose of this research was to study evaluation of the factors affecting acceptance of human resource management system through a website: a case study of K.S.S.COM Ltd., Part. Questionnaire was used in gathering data from 155 samples. The data was analyzed by percentage, mean, and standard deviation. The statistics used in testing hypothesis consisted of Independent Samples t-test to determine the differences between two independent groups, One-Way ANOVA to determine the differences of the three of more groups, and Least Significant Difference (LSD) to determine the difference at the statistical significance level of .05. The findings revealed that evaluating the factors of acceptance, they accepted at the high level. In addition, the difference sexes and ages affected the different evaluation results in terms of benefit factor. At the same time, different ages resulted to different evaluation results in terms of trustworthiness factor, different education levels resulted to different evaluation results in terms of effectiveness factor, and different sexes resulted to different evaluation results in terms of complexity. For IT experience, the samples with different experience in internet and online social media resulted to the different evaluation results in terms of benefit factor. The samples with different experience in Microsoft Excel, Email, and online social media resulted to the different evaluation results in terms of trustworthiness factor. The samples with different experience in Microsoft Outlook resulted to the different evaluation results in terms of compatibility factor. Lastly, the samples with different experience in Microsoft Word, Microsoft Excel, Internet, Internet searching, Email, and online social media resulted to the different evaluation results in terms of complexity factor.
URI: http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2460
Appears in Collections:บทความ (Article - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
หน้า 572-577.pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อการยอมรับระบบการบริหารทรัพยากรมนุษย์ผ่านเว็บไซต์ : กรณีศึกษา ห้างหุ้นส่วนจำกัด เค.เอส.เอส.คอม222.77 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.