Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2334
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สิริสุดา เนียมนาค | |
dc.date.accessioned | 2015-07-28T03:54:02Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:19:48Z | - |
dc.date.available | 2015-07-28T03:54:02Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:19:48Z | - |
dc.date.issued | 2556 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2334 | - |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสามารถในการทำกำไร โดยใช้อัตราส่วนความสามารถในการทำกำไร 5 อัตรา คือ อัตรากำไรเบื้องต้น อัตรากำไรจากการดำเนินงาน อัตรากำไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้นและอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ทั้งหมดที่ส่งผลต่อการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ลงทุนของกิจการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ จำนวน 128 บริษัท จาก 18 กลุ่มธุรกิจ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากรายงานประจำปีและแบบ 56-1 ของปี 2553-2554 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติเชิงอนุมาน เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างเงินปันผลกับความสามารถในการทำกำไรซึ่งใช้วิธีการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างเงินปันผลกับความสามารถในการทำกำไรที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษาสรุปได้ว่า อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น มีความสัมพันธ์กับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นมากที่สุด จำนวน 5 กลุ่มธุรกิจ ซึ่งมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน 2 กลุ่มธุรกิจคือ กลุ่มแฟชั่นและกลุ่มบรรจุภัณฑ์ และมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้าม 3 กลุ่มธุรกิจ คือ กลุ่มการแพทย์ กลุ่มของใช้ส่วนตัวและเวชภัณฑ์และกลุ่มพลังงานและสาธารณูปโภค อัตรากำไร เบื้องต้น อัตรากำไรสุทธิและอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ทั้งหมด มีความสัมพันธ์กับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้น จำนวน 4 กลุ่มธุรกิจ และความสามารถในการทำกำไรที่มีความสัมพันธ์กับการจ่ายเงินปันผลให้แก่ผู้ถือหุ้นน้อยที่สุด คือ อัตรากำไรจากการดำเนินงาน จำนวน 2 กลุ่มธุรกิจ | en_US |
dc.description.abstract | The study was carried out to investigate the profitability with the use of 5 categories of profitability ratios, i.e. gross profit margin, operating profit margin, net profit margin, return on equity, and return on asset, which affected payment of dividends to the investors. The sample used in the study comprised 128 companies from 18 sectoral groups listed on the Stock Exchange of Thailand. The data were collected through the annual reports and form 56-1 of B.E.2553-2554. The data were analyzed using referential statistics including Pearson’s Correlation Coefficient to examine the relationship between the dividends and the profitability at 0.05 level of significance. The results of study showed that the return on equity had the highest level of relationship with the payment of dividends to the shareholders of 5 sectoral groups, which had a positive relationship with 2 sectoral groups i.e. fashion and packaging, however a negative relationship were found with 3 sectoral groups, i.e. medical, personal products and pharmaceuticals, and energy and utilities. The gross profit margin, the net profit margin, and the return on assets had relationship with the payment of dividends to the shareholders of 4 sectoral groups. The profitability which had the lowest level of relationship with the payment of dividends to the shareholders of 2 sectoral groups was the operating profit margin. | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. วิชาเอกการบัญชี | en_US |
dc.subject | เงินปันผล -- ไทย | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเงินปันผลกับความสามารถในการทำกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | en_US |
dc.title.alternative | The Relationship Analysis Between Dividends and Profitability of Listed Companies in Thailand | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
Appears in Collections: | การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
144458.pdf | การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างเงินปันผลกับความสามารถในการทำกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | 1.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.