Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/220
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวาสนา เจริญวิเชียรฉาย
dc.date.accessioned2011-10-19T06:53:46Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:39:32Z-
dc.date.available2011-10-19T06:53:46Z
dc.date.available2020-09-24T04:39:32Z-
dc.date.issued2551
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/220-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทผลิตภัณฑ์จากกระดาษสากระดาษสับปะรด และกระดาษตะขบ มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์จากกระดาษสากระดาษสับปะรด และกระดาษตะขบ เพื่อเป็นการพัฒนารูปแบบลวดลายผลิตภัณฑ์จากกระดาษสา กระดาษสับปะรด และกระดาษตะขบ ให้ผู้ผลิตได้นำรูปแบบ ไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ของตน และเพื่อนำเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ให้กับชุมชนเพื่อ พัฒนาผลิตภัณฑ์จากกระดาษสา กระดาษสับปะรด และกระดาษตะขบ ในรูปแบใหม่ โดยศึกษาความต้องการของผู้ผลิตผลิตภัณฑ์จากกระดาษสา กระดาษสับปะรด และกระดาษตะขบ และผลิตภัณฑ์ทั่วไป 10 คน และผู้บริโภคผู้สนใจสินค้า(ประชาชนทั่วไป) 100 คน รวม 110 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถามโดยดำเนินการ 2 ระยะ คือ 1. สอบถามความต้องการด้าน รูปแบบของการตกแต่งลวดลายผลิตภัณฑ์ เพื่อนำมาเป็นแนวทางการออกแบบผลิตภัณฑ์จากกระดาษสา กระดาษสับปะรด และกระดาษตะขบ 2. ประเมินความพึงพอใจที่มีต่อผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์จากกระดาษสา กระดาษสับปะรด และกระดาษตะขบ ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการด้านรูปแบบของผลิตภัณฑ์ จากกระดาษสา กระดาษสับปะรด และกระดาษ ตะขบ เพื่อนำมาเป็นแนวทางการออกแบบ จากกระดาษสา กระดาษสับปะรด และกระดาษตะขบผู้ผลิตและผู้สนใจสินค้าต้องการให้ ผลิตภัณฑ์จากกระดาษสา กระดาษสับปะรด และกระดาษตะขบ ผลิตภัณฑ์ประเภทภาพติดผนัง ควรเป็ นภาพดอกไม้รองลงมาเป็ นภาพทิวทัศน์ กรอบรูปควรเป็นภาพดอกไม้ รองลงมาเป็นลายสร้างสรรค์ สมุดโน้ต ควรเป็นภาพดอกไม้ รองลงมาเป็นภาพเสร้างสรรค์ กล่องใส่ของ ควรเป็นภาพดอกไม้ รองลงมาเป็นลายสร้างสรรค์ ผลการประเมินความพึงพอใจ ผู้ผลิตและผู้สนใจสินค้า มีความพึงพอใจผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์จากกระดาษสา กระดาษสับปะรด และกระดาษตะขบอยู่ในระดับมากen_US
dc.description.abstractThe purpose of this research was to design the community product from mulberry paper, pineapple paper, and Indian plum paper, to develop new designed pattern for the producer to apply with their community products, and to introduce the new designed pattern to the community. The questionnaire was distributed to 110 samples consisted of 10 producers and 100 customers in 2 stages: the pre-design stage, to collect the preference on design patterns as a guideline to design the community product from mulberry paper, pineapple paper, and Indian plum paper, and the postdesign stage, to measure the satisfaction toward the designed products. Percentage, mean, and standard deviation were used to analysis the collected data. The result of this research at the pre-design stage showed that both the producers and customers prefer the pattern of the community product from mulberry paper, pineapple paper, and Indian plum paper as the following: decoration pictures should be made in form of flowers and landscape, and photo frames, table lamps, notebooks, and multi-purpose boxes should be made in form of flowers and inventive patterns. In the post-design stage, the satisfaction of both the producers and customers toward the designed product from mulberry paper, pineapple paper, and Indian plum paper was in high level.en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.คณะศิลปกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectผลิตภัณฑ์ -- การออกแบบ -- วิจัยen_US
dc.subjectกระดาษen_US
dc.titleการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทผลิตภัณฑ์จากกระดาษสา กระดาษสับปะรด และกระดาษตะขบen_US
dc.title.alternativeDesign and development for community product made from mulberry paper, pineapple paper, and indian plum paperen_US
dc.typeResearchen_US
Appears in Collections:วิจัย (Research - FA)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทผลิตภัณฑ์จากกระดาษสา กระดาษสับปะรด และกระดาษต....pdfการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทผลิตภัณฑ์จากกระดาษสา กระดาษสับปะรด และกระดาษตะขบ554.29 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.