Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2075
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เจตชรินทร์ จิรสันติธรรม | |
dc.date.accessioned | 2014-12-22T09:32:48Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:39:14Z | - |
dc.date.available | 2014-12-22T09:32:48Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:39:14Z | - |
dc.date.issued | 2557 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2075 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยเรื่อง เพลงเห่ในวัฒนธรรมไทย เป็นการวิจัยที่ใช้ระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความสำคัญและบทบาทหน้าที่ของเพลงเห่ในวัฒนธรรมไทย รูปแบบของการขับร้องเพลงเห่ การวิจัยนี้ใช้เอกสารข้อมูลเก่า แผ่นเสียง แถบบันทึกเสียง และการสัมภาษณ์บุคคลต่างๆ เป็นข้อมูลปฐมภูมิข้อมูลทุติยภูมิและข้อมูลภาคสนาม ผลการวิจัยพบเพลงเห่ มีการสืบทอดความรู้ของเพลงเห่จากภูมิปัญญาแบบมุขปาฐะ โดยมีแหล่งศึกษาที่สำคัญคือ บ้าน วัด และวัง แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ เพลงเห่ในพิธีกรรมเพลงเห่พระราชพิธีของหลวงและเพลงเห่ในวิถีชีวิตของราษฎร ความสำคัญของเพลงเห่เป็นองค์ประกอบสำคัญในพิธีกรรมแสดงให้เห็นการสร้างกระบวนความคิด ความเชื่อ และค่านิยมของคนไทย บทบาทหน้าที่ของเพลงเห่จำแนกได้เป็น 2 อย่างคือเป็นบทบาทหน้าที่ในราชพิธี บทบาทหน้าที่ในวิถีชีวิตของราษฎร เพลงเห่มี 3 ประเภท คือ (1) เห่กล่อม (2) เห่เรือ (3) เห่ในโขน ละคร รูปแบบของเพลงเห่ ได้แก่ รูปแบบการประพันธ์ รูปแบบการขับร้องและทำนองของเห่ | en_US |
dc.description.abstract | This research on ‘Phleng Hae in Thai Culture’ is a qualitative research work with the objective to learn about the context and roles of Phleng Hae in Thai culture, as well as cultural and the song chanting of Phleng Hae. This research relied on primary and secondary data obtained from existing literature, records, interview and field works. The results from the research reveal: that Phleng Hae. The main hubs of knowledge transmission in ancient times were the household, temple and palace. Phleng Hae can be divided into three different types, namely, Pleng Hae in royal religious or state ceremonies, The song styles of Phleng Hae can be divided into three processes, 1) the ‘Hae Klom, 2) the ‘Hae Rue, 3) The ‘Hae Lakorn Phleng Hae, and can be categorized into various types as Hae Klom (Soothing chanting), the Hae Rue (boat chanting), Hae Lakorn (Thai drama chanting) and Hae Tao (refrained chanting).Forms of Phleng Hae including called Composition, singing and melody in Hae. | |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.subject | เพลงเห่ | en_US |
dc.subject | วัฒนธรรมไทย | en_US |
dc.subject | Phleng Hae | en_US |
dc.subject | Thai Culture | en_US |
dc.title | เพลงเห่ในวัฒนธรรมไทย | en_US |
dc.title.alternative | Phleng Hae in Thai Culture | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | บทความ (Article - FA) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัย และงานสร้างสรรค์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 ม.ค.-มิ.ย. 25....pdf | เพลงเห่ในวัฒนธรรมไทย | 310.84 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.