Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1829
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุภวรรณ ฏิระวณิชย์กุล
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ ทะสะระ
dc.contributor.authorจุไรรัตน์ สุริยงค์
dc.contributor.authorปิยาภรณ์ ปานกำเนิด
dc.contributor.authorยุทธนา ฏิระวณิชย์กุล
dc.date.accessioned2014-10-03T07:54:55Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:36:40Z-
dc.date.available2014-10-03T07:54:55Z
dc.date.available2020-09-24T04:36:40Z-
dc.date.issued2013
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1829-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาแนวทางการอบแห้งใบเตยและตะไคร้เพื่อใช้ทำสมุนไพรแห้งชงดื่มด้วยแหล่งความร้อนแบบการพาความร้อนด้วยลมร้อนพลังงานแสงอาทิตย์ร่วมกับลมร้อน และแบบการแผ่รังสีอินฟราเรด และศึกษาปัจจัยของอุณหภูมิอบแห้งและเงื่อนไขการอบแห้งที่มีต่อจลนพลศาสตร์ของการอบแห้ง และคุณภาพของผลิตภัณฑ์สมุนไพรใบเตยและตะไคร้แห้งชงดื่มโดยใช้อุณหภูมิอบแห้งในช่วง 40-60 degree Celsius ความเร็วลมเฉลี่ยเท่ากับ 0.5+0.1 m/s ความสิ้นเปลืองพลังงานจำเพาะที่ใช้ในการอบแห้งถูกนำมาศึกษาเปรียบเทียบกัน ผลการทดลองพบว่า การอบแห้งด้วยอุณหภูมิสูงมีอัตราการอบแห้งเร็วกว่าการอบแห้งที่อุณหภูมิต่ำ โดยอัตราการลดลงของความชื้นของสมุนไพรทั้งสองชนิดเป็นฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียลของเวลาอบแห้ง และสมการแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ที่สร้างขึ้นสามารถทำนายอัตราการอบแห้งของสมุนไพรทั้งสองชนิดได้เป็นอย่างดี เมื่อพิจารณาถึงความสิ้นเปลืองพลังงานจำเพาะในการอบแห้ง พบว่า แนวทางการอบแห้งด้วยรังสีอินฟราเรดจะมีค่าต่ำสุดen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherRajamangala University of Technology Thanyaburi. Faculty of Engineeringen_US
dc.subjectลมร้อนen_US
dc.subjectการอบแห้งen_US
dc.subjectใบเตยen_US
dc.subjectตะไคร้en_US
dc.titleการอบแห้งใบเตยและตะไคร้เพื่อผลิตเป็นชาชงสมุนไพรด้วยแหล่งพลังงานความร้อนหลายรูปแบบen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:ประชุมวิชาการ (Proceedings - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TFE-30 p570-577.pdfการอบแห้งใบเตยและตะไคร้เพื่อผลิตเป็นชาชงสมุนไพรด้วยแหล่งพลังงานความร้อนหลายรูปแบบ790.23 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.