Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1721
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเฉลิมศักดิ์ ถาวรวัตร์
dc.contributor.authorระพี กาญจนะ
dc.date.accessioned2014-07-02T06:54:35Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:34:01Z-
dc.date.available2014-07-02T06:54:35Z
dc.date.available2020-09-24T04:34:01Z-
dc.date.issued2556
dc.identifier.issn1685-5280
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1721-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี. ปีที่ 11, ฉบับที่ 2 (ก.ค. – ธ.ค. 2556), หน้า 13-23en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ทำการศึกษาระบบการจัดการวัสดุคงคลังของโรงงานประกอบกิจการรับจ้างผลิตชิ้นส่วนเครื่องจักร และชิ้นงานโลหะตามแบบ ซึ่งระบบการผลิตของโรงงานเป็นระบบการผลิตแบบตามสั่ง วัตถุดิบหลักของโรงงานประกอบด้วยโลหะแผ่นจำพวกเหล็กแผ่น สเตนเลสแผ่น โลหะรูปพรรณจำพวกท่อ ฉาก เส้นแบน อีกทั้งวัสดุส่วนประกอบจำพวกบูชข้อต่อบานพับ สกรูและนัท เป็นต้น เลือกศึกษากลุ่มวัตถุดิบประเภทโลหะแผ่นและโลหะรูปพรรณโดยใช้เทคนิควิเคราะห์หาระดับความสำคัญของวัสดุ หรือ ABC Analysis และได้กลุ่ม A จำนวน 19 รายการ กลุ่ม B จำนวน 41 รายการ และกลุ่ม C จำนวน 204 รายการ จากนั้นนำวัสดุในกลุ่ม A มาเรียงลำดับตามอัตราการหมุนเวียนจากมากไปน้อย และทำการเลือกวัสดุลำดับที่ 1 2 และ 3 มาทำการศึกษาคือ เหล็กแผ่นขาว 3.2t เหล็กแผ่นขาว 2.3t และเหล็กแผ่นปิคเกอร์ 2.3t และใช้วิธีการวัดความแปรปรวนของระดับความต้องการวัสดุด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน หรือ Peterson-Silver Rule เป็นเทคนิค การแยกรูปแบบความต้องการว่าเป็นความต้องการแบบแน่นอนหรือความต้องการแบบไม่แน่นอนสรุปผลได้ว่าวัสดุ ทั้ง 3 รายการมีรูปแบบความต้องการเป็นแบบไม่แน่นอน ทำให้ไม่สามารถใช้วิธีการหาปริมาณการสั่งซื้อแบบประหยัดหรือ Economic Order Quantity (EOQ) ได้ งานวิจัยนี้จึงนำวิธีฮิวริสติกส์ทั้ง 3 รูปแบบ คือ วิธี Silver-Meal วิธี Least Unit Cost และวิธี Part Period Balancing มาทำการเปรียบวิธีการที่เหมาะสมที่สุด จากผลงานวิจัยทั้ง 3 รูปแบบ ไม่พบว่ามีวิธีการใดเป็นวิธีการที่ทำให้ค่าใช้จ่ายการจัดการวัสดุคงคลังต่ำที่สุดเพียงวิธีเดียว แต่ละวิธีเหมาะสมกับวัสดุที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้ วัสดุเหล็กแผ่นขาว 3.2t เหมาะสมที่จะเลือกวิธี Part Period Balancing สำหรับวัสดุเหล็กแผ่นขาว 2.3t เหมาะสมกับการนำวิธี Silver-Meal มาใช้ และวัสดุเหล็กแผ่นปิคเกอร์ 2.3t สามารถนำมาใช้ได้ทั้งวิธี Silver-Meal และวิธี Part Period Balancing และผลงานวิจัยนี้ยังพลว่า วิธี Least Unit Cost ไม่เหมาะสมสำหรับการนำมาจัดการวัสดุคงคลัง เนื่องจากต้นทุนค่าใช้จ่ายของวัสดุทั้ง 3 รายการสูงกว่าวิธีอื่นๆen_US
dc.description.abstractThis research studied inventory management system of plants operating business of production to order for machinery parts and metal works upon design. The main materials of this plant are consisted of metal sheets including steel sheets. stainless sheets; shape metals including pipe. angle bar. flat bars ; and socket, hinges, screw and nut. etc. Metal sheets and shape metal were selected for studying by using ABC analysis technique. Consequently, 19 items of A group. 4 1 items of B group and 204 items of C group were obtained. Subsequently, materials in A group were arranged according to turnover rate in descending order. The first, second and third materials (i.e., SPCC 3.2t, SPCC 2.3t and SPHC P/O2.3t) were selected for studying. Variation of material demand was measured by using Peterson-Silver Rule. From dividing the demand formats into certain demand and uncertain demand, it could be concluded that these three materials had certain demand format therefore it is impossible to use Economic Order Quantity (EOQ).As a result. three forms of Heuristic method (Silver-Meal, Least Unit Cost and Part Period Balancing) were used for comparing the most proper method. From the results of these three methods, there was no method could be used to reduce the expense of inventory management solely. Each method was appropriate for different materials as follows: SPCC 3.2t was appropriate with Part Period Balancing while spec 2.3t was appropriate with Silver-Meal and SPHC P/O 2.3t was suitable with Silver-Meal and Part Period Balancing. In addition, this research also found that Least Unit Cost was inappropriate with inventory management because the cost of these three metal materials was higher than other methods.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectการจัดการวัสดุคงคลังen_US
dc.subjectระบบการผลิตแบบตามสั่งen_US
dc.subjectชิ้นส่วนเครื่องจักรen_US
dc.titleการปรับปรุงการจัดการวัสดุคงคลัง กรณีศึกษาระบบการผลิตแบบตามสั่งen_US
dc.title.alternativeImprovement of the Inventory Management System : A Case Study in Make-To-Order Production Systemen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Journal of Engineering Y.11 Vol.2 p.13-23 2556.pdfการปรับปรุงการจัดการวัสดุคงคลัง กรณีศึกษาระบบการผลิตแบบตามสั่ง3.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.