Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1701
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชูศักดิ์ คีรีรัตน์ | |
dc.date.accessioned | 2014-05-30T07:06:22Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:34:06Z | - |
dc.date.available | 2014-05-30T07:06:22Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:34:06Z | - |
dc.date.issued | 2549 | |
dc.identifier.issn | 1685-5280 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1701 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี. ปีที่ 4, ฉบับที่ 8 (ก.ค. – ธ.ค. 2549), หน้า 28-33 | en_US |
dc.description.abstract | ปริมาณความชื้นของดิน เป็นคุณสมบัติพื้นฐานที่มีความสำคัญอย่างหนึ่งในด้านวิศวกรรมธรณีเทคนิคโดยสามารถหาได้จากการทดสอบในหลายวิธี แต่วิธีที่นิยมใช้กันมากที่สุดก็คือ วิธีการใช้ตู้อบ ซึ่งเป็นวิธีที่เป็นมาตรฐานและยอมรับกันโดยทั่วไป โดยใช้อุณหภูมิในการอบดินให้แห้งที่ 105[plusmn]5 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 16 ชั่วโมง หรือจนกระทั่งดินแห้ง ในการศึกษาครั้งนี้ได้แปรผันอุณหภูมิที่ใช้ในการอบที่ 105, 125, 150, 175, 200 และ 220 องศาเซลเซียส กรณีตัวอย่างดิน 50 พื้นที่ซึ่งกระจายทั่วเทศบาลเมืองหัวหินจำนวน 621 ตัวอย่าง จากการศึกษาพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างค่าปริมาณความชื้นและค่าการสูญเสียน้ำหนักจากการอบดิน มีลักษณะเป็นเชิงเส้นต่อกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 1 ตามหลักการของสมการถดถอยเชิงเส้น และสามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณความชื้นและอุณหภูมิที่ใช้อบได้ โดยแบ่งกลุ่มตามความใกล้เคียงของปริมาณความชื้นเป็น 7 กลุ่มพื้นที่ ผลจากการวิเคราะห์สามารถสร้างเส้นกราฟปรับแก้ค่าปริมาณความชื้นที่อบด้วยอุณหภูมิที่สูงกว่า 105 องศาเซลเซียสได้ ซึ่งช่วยให้สามารถร่นระยะเวลาในการหาค่าปริมาณความชื้นสำหรับดินหัวหินด้วยวิธีการใช้ตู้อบได้ | en_US |
dc.description.abstract | Water content is the important basic property of geotechnical engineering. It could be tested from several methods. The popular is oven dry method which is a standard one and accepted in overall. This method uses standard temperature of 105[plusmn]5 Celsius Degree to dried of soil not less than 16 hours . In this study. it used varied temperature at 105, 125, 150, 175, 200 and 220 Celsius Degree to dried of HUA HIN soil. The samples in this study are 621 samples of HAU HIN soil in 50 areas. From the conclusion found that relationship of ash content and water content is linear correlation and has coefficient of correlation equal I of linear regression. In addition. Relationship of water content and temperature arc divided as 7 groups depend on closely of water content. From evaluation able to construct adjusted factor curve for determined correct water content when temperature testing more than 105 degree Celsius was shown in conclusion. The benefit of this study is a time saving in water content determination by oven dry method. | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.subject | ดิน -- หัวหิน | en_US |
dc.subject | ดิน -- ความชื้น -- การวัด | en_US |
dc.subject | การอบดิน | en_US |
dc.title | ผลกระทบของอุณหภูมิที่ใช้ในการอบดินเพื่อหาค่าปริมาณความชื้นสำหรับดินหัวหิน | en_US |
dc.title.alternative | The Affect of Temperature to Water Content Determination For Hua Hin Soil | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | บทความ (Article - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Journal of Engineering Y.04 Vol.8 p.28-33 2549.pdf | ผลกระทบของอุณหภูมิที่ใช้ในการอบดินเพื่อหาค่าปริมาณความชื้นสำหรับดินหัวหิน | 2.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.