Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1682
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเกรียงไกร เพ็ชรแบน
dc.contributor.authorวรุตม์ เสรยางกูร
dc.contributor.authorวิทูรย์ แก้วมณี
dc.contributor.authorอรรณพ สมาธิ
dc.contributor.authorนิรชร พึ่งแดง
dc.date.accessioned2014-05-28T02:49:02Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:34:10Z-
dc.date.available2014-05-28T02:49:02Z
dc.date.available2020-09-24T04:34:10Z-
dc.date.issued2549
dc.identifier.issn1685-5280
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1682-
dc.descriptionวารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี. ปีที่ 4, ฉบับที่ 7 (ม.ค. – มิ.ย. 2549), หน้า 14-20en_US
dc.description.abstractการเปรียบเทียบค่าความแข็งแรงของดินลูกรังระหว่างตัวอย่างทดสอบดินลูกรังล้วน กับตัวอย่างทดสอบเถ้าหนักลิกไนต์แทนที่ดินลูกรังที่ปริมาณร้อยละ 10, 20, 30, 40 และ 50 ตามลำดับ โดยใช้แหล่งเถ้าหนักลิกไนต์จากบริษัททอรัส ปอสล์โซลาน จำกัด ดินลูกรังคือวัสดุที่ถูกนำมาใช้ในงานก่อสร้างถนนอย่างกว้างขวาง ค่าความแข็งแรงของวัสดุลูกรังหาได้จากค่าเปอร์เซ็นต์ CBR โดยอาศัยวิธีการบดอัดอย่างสม่ำเสมอและควบคุมปริมาณความชื้นอย่างเหมาะสมรวมไปถึงคุณสมบัติของดินลูกรังที่ใช้ก่อสร้างแหล่งนั้นๆ จากการทดสอบพบว่าค่าเปอร์เซ็นต์ CBR ของตัวอย่างทดสอบดินลูกรังผสมเถ้าหนักลิกไนต์สูงกว่าตัวอย่างทดสอบดินลูกรังล้วน ขณะเดียวกันการแทนที่เถ้าหนักลิกไนต์ในอัตราส่วนร้อยละ 26 จะให้ค่าเปอร์เซ็นต์ CBR สูงที่สุด และถ้าแทนที่เถ้าหนักลิกไนต์ในอัตราส่วนที่เพิ่มขึ้นก็จะทำให้ค่าเปอร์เซ็นต์ CBR ค่อยๆ ลดลงตามลำดับen_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectเถ้าหนักลิกไนต์en_US
dc.subjectดินลูกรังen_US
dc.titleการนำเถ้าหนักลิกไนต์มาแทนที่ดินลูกรังในชั้นรองพื้นทางen_US
dc.title.alternativeReplacing Laterite with Lignite Bottom Ash in Subbase Courseen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Y.04 Vol.7 p.14-20 2549.pdfการนำเถ้าหนักลิกไนต์มาแทนที่ดินลูกรังในชั้นรองพื้นทาง2.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.