Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1602
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | อภิสิทธิ์ ประมูลสาร | |
dc.contributor.author | พิพัฒน์ ปราโมทย์ | |
dc.date.accessioned | 2014-05-02T04:28:37Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:33:15Z | - |
dc.date.available | 2014-05-02T04:28:37Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:33:15Z | - |
dc.date.issued | 2552 | |
dc.identifier.issn | 1685-5280 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1602 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี ปีที่ 7 ฉบับที่ 1-2 เดือนมกราคม – ธันวาคม 2552 | en_US |
dc.description.abstract | ตัวปรับความตึงโซ่ราวลิ้นแบบสปริงขดซึ่งทำหน้าที่สร้างแรงกดให้กับโซ่ราวลิ้นและต้องรับแรงกดที่มีทิศทางตรงกันข้าม อันเนื่องมาจาการกระพือของโซ่ซึ่งเรียกแรงที่กระทำสลับไปมาแบบนี้ว่าแรงกระทำแบบสลับต่อเนื่องและภายหลังจากการใช้งานไปได้นานระยะหนึ่ง ความล้าที่เกิดขึ้นกับสปริงขดจะส่งผลให้ตัวปรับความตึงโซ่ไม่สามารถรักษาสภาพความตึงของโซ่ราวลิ้นทำให้เกิดปัญหาเสียงดังผิดปกติและความเสียหายเกิดขึ้นกับชิ้นส่วนของเครื่องยนต์ การศึกษาครั้งนี้ได้ทำการทดสอบตัวปรับความตึงโซ่ที่มีการใช้งานในระยะทางที่แตกต่างกัน เพื่อหาระยะทางที่ตัวปรับความตึงโซ่สามารถต้านทานต่อแรงกดไว้ได้นานที่สุด โดยผลที่ได้คือระยะทางระหว่าง 0-5000 กิโลเมตร ซึ่งมีค่าที่สัมพันธ์กับการใช้งานจริงที่จำนวนการเกิดปัญหาของตัวปรับความตึงโซ่ส่วนใหญ่จะเกิดที่ระยะทาง 5,000 กิโลเมตรขึ้นไป ซึ่งเป็นข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากการใช้งานจริง นอกจานี้ยังพบว่าผลของความล้าจากการใช้งานทำให้ความสามารถในการต้านทานแรงกดของตัวปรับความตึงโซ่มีค่าลดลง | en_US |
dc.description.abstract | The tension lifter of cam chain obtains the both tensile and compressive force. Due to the flap of cam chain, both an alternating loads are called the fluctuating load. After some mileages, the fatigue occurred in spiral spring which affects to the tension of cam chain reduction, abnormal noise, and engine damage occurred. This study is the testing of tension lifter of cam chain which was used in variety of distances. The goal was to find the properly distance that gives the tension lifter the best compressive resistance. The testing results show the distance of 0- 5000 km that the springs have the best endurance. Furthermore, the testing gave the fatigue affects on compressive resistance of tension lifter which is decreased proportion to the distance. | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.subject | ตัวปรับความตึงโซ่ราวลิ้น | en_US |
dc.subject | โซ่ราวลิ้นแบบสปริงขด | en_US |
dc.subject | แรงกระทำสลับแบบต่อเนื่อง | en_US |
dc.subject | แผ่นสปริงขด | en_US |
dc.title | ผลกระทบจากความล้าของตัวปรับความตึงโซ่ราวลื้นแบบสปริงขด | en_US |
dc.title.alternative | Effect due to the Fatigue of Tension Lifter Typed Spiral Spring | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | บทความ (Article - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Y.07 Vol.1-2 p.88-92 2552.pdf | ผลกระทบจากความล้าของตัวปรับความตึงโซ่ราวลื้นแบบสปริงขด | 364.21 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.