Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1571
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชายชาญ นาล่อง | |
dc.date.accessioned | 2014-04-23T07:52:35Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:15:46Z | - |
dc.date.available | 2014-04-23T07:52:35Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:15:46Z | - |
dc.date.issued | 2553 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1571 | - |
dc.description.abstract | ที่มาของวิทยานิพนธ์นี้เกิดขึ้นเนื่องจากมีความสนใจในเรื่องของการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติซึ่งจากโปรเจคที่ผ่านมาได้ทำเกี่ยวกับการสะท้อนสภาพธรรมชาติในปัจจุบัน ซึ่งจากการศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติซึ่งสื่อต่างๆ ต่างนำเสนอ เช่น สื่อโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร ล้วนให้ความสนใจแลตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงนี้ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงล้วนแล้วแต่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ เช่น การลายพื้นที่สีเขียว ปัญหาประชากรหนาแน่น ปัญหาการจราจรติดขัด ปัญหาโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งปัญหาเหล่านี้ล้วนแต่ทำให้เกิดมลภาวะต่างๆ ซึ่งทำให้เกิดสภาวะเรือนกระจก ทำให้โลกร้อนขึ้นเป็นที่มาของการเปลี่ยนแปลงของโลก ทั้งภาครัฐและเอกชนล้วนแล้วให้ความสำคัญกับปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งต่างมีวิธีที่แตกต่างกันไป เช่น การใช้ถุงผ้าแทนพลาสติก การนำวัสดุเหลือใช้มา recycle การลดการใช้พลังงานไฟฟ้าตอนพักเที่ยง ซึ่งนั่นต่างเป็นการให้ความสำคัญในหน่วยงานต่างๆ เท่าที่จะสามารถทำได้ แต่นั่นก็ยังไม่สามารถช่วยแก้ปัญหาได้เท่าที่ควร ตราบใดที่มนุษย์ยังเป็นนักบริโภคนิยม ยังต้องมีความต้องการการใช้พลังงาน ยังต้องมีการพัฒนาประเทศ ซึ่งนั่น เราไม่สามารถลดการใช้พลังงานที่ทำให้เกิดสภาวะการเปลี่ยนแปลงของโลกได้เลย แต่ในฐานะที่เราเป็นนักศึกษาสถาปัตยกรรมเราสามารถคิดสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมที่มีประสิทธิภาพในการอนุรักษ์พลังงานได้ไม่ว่าจะเป็นการใช้เทคโนโลยีหรือพลังงานที่เกิดจากธรรมชาติ ซึ่งในช่วงของการศึกษากลุ่มอาคารของศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์ที่ได้ชื่อว่าเป็นอาคารต้นแบบในการอนุรักษ์พลังงานจากการศึกษาพบว่าการอนุรักษ์พลังงานของโครงการศูนย์เอนเนอร์ยี่คอมเพล็กซ์เป็นการใช้เทคโนโลยีระดับสูง และการลงทุนเริ่มต้นค่อนข่างสูง ซึ่งผู้จัดทำวิทยานิพนธ์คิดว่าเป็นการเริ่มต้นของการอนุรักษ์พลังงานที่สูงเกินไป ซึ่งการอนุรักษ์พลังงานเป็นทางด้านวิศวกรรมมากกว่าทางด้านสถาปัตยกรรมงานวิศวกรรมเป็นการใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งทำให้การลงทุนสูงส่วนทางด้านสถาปัตยกรรมเป็นการใช้วัสดุที่ค่อนข้างลงทุนสูงเช่นกัน ซึ่งทางผู้ทำวิทยานิพนธ์คิดว่า เป็นการลงทุนที่สูงเกินไป แต่ประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการก่อสร้างอาคารอื่นๆ มีความเป็นไปได้น้อยมากเพราะคิดจากต้นทุนสูงเกินไป ผู้จัดทำจึงคิดว่า ปตท. น่าจะมีการใช้สภาวะทางธรรมชาติเข้ามาใช้เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมของเมืองไทย โดยไม่ปล่อยความสำคัญของสภาพแวดล้อมสูญเปล่า เป็นการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติให้มากที่สุด | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.subject | อาคารสีเขียวศูนย์เอนเนอร์ยี คอมเพล็กซ์ จำกัด กรุงเทพฯ | en_US |
dc.subject | การออกแบบก่อสร้าง | en_US |
dc.subject | การออกแบบภายใน | en_US |
dc.subject | สถาปัตยกรรมภายใน | en_US |
dc.title | โครงการศึกษาทฤษฎีและหลักการในการอนุรักษ์พลังงานเพื่อออกแบบสถาปัตยกรรมภายในอาคารสีเขียวศูนย์เอนเนอร์ยี คอมเพล็กซ์ จำกัด กรุงเทพฯ | en_US |
dc.type | Project | en_US |
Appears in Collections: | โครงงาน (Project) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
121220.pdf | โครงการศึกษาทฤษฎีและหลักการในการอนุรักษ์พลังงานเพื่อออกแบบสถาปัตยกรรมภายในอาคารสีเขียวศูนย์เอนเนอร์ยี คอมเพล็กซ์ จำกัด กรุงเทพฯ | 122.71 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.