Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1567
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorณัฐพร เมาระพงษ์
dc.date.accessioned2014-04-23T07:18:51Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:15:28Z-
dc.date.available2014-04-23T07:18:51Z
dc.date.available2020-09-24T04:15:28Z-
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1567-
dc.description.abstractเนื่องจากในระยะเวลาที่ผ่านมาเด็กที่มีความพิการในประเทศไทย ไม่ได้รับการดูแลและบำบัดอย่างทั่วถึง บวกกับจำนวนเด็กที่มีความพิการได้เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทำให้พัฒนาการทางร่างกายต่ำไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ในสังคม เหตุผลเพราะมูลนิธิหรือสถานที่บำบัดนั้นไม่เพียงพอต่อจำนวนเด็กพิการที่เพิ่มมากขึ้นและผู้ปกครองของเด็กเองมีความรู้สึกอายที่จะพาลูกไปตรวจรักษาและทำการบำบัดอย่างถูกวิธี จึงกลายเป็นปัญหาเงียบที่ถูกมองข้ามมาเป็นระยะเวลานาน ทำให้ส่งผลเสียต่อระบบภายในประเทศ เพราะประชากรส่วนหนึ่งกลายไปเป็นภาระของสังคม แต่หากเด็กผู้พิการเหล่านั้นได้รับการบำบัดที่ถูกต้องและต่อเนื่องพัฒนาการทางร่างกายต่างๆ ก็จะดีขึ้น จนสามารถที่จะช่วยเหลือและสามารถดำรงชีวิต ร่วมกับบุคคลทั่วไปในสังคมได้ด้วยตนเอง ทางคณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการที่ดำเนินงานภายใต้กระทรวงการพัฒนาสังคมแลความม่นคงของมนุษย์ ได้มีการจัดทำ “แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ” ขึ้น เริ่มตั้งแต่ปี 2540 เป็นต้นมา จนปัจจุบันดำเนินการมาถึง “แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ” ฉบับที่ 3 ปี พ.ศ. 2550-2554 แล้ว โดยแผนพัฒนาฉบบนี้จะทำควบคู่ไปกับ “แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ” ฉบับที่ 10 ซึ่งมีใจความหลักที่ยงคงยึด “คน” เป็นศูนย์กลางของการพัฒนา มีเป้าหมายให้ประเทศไทยสามารถพัฒนาไปได้อย่างยั่งยืน มีความสมดุลในการพัฒนาระหว่างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยนำยุทธศาสตร์หลัก 5 ยุทธศาสตร์ เป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศ ในส่วนของคนพิการได้ถูกกล่าวถึงไว้ในยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ในเนื้อความหลักๆ ของนโยบาย เน้นการส่งเสริมด้านสุขภาวะของคนพิการ ทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคม ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพคนพิการอย่างเต็มที่ตั้งแต่เริ่มต้นอย่างครบครันและทั่วถึงในระดับรากหญ้าเป็นต้นไป ขจัดความไม่รู้หนังสือ พร้อมกับการพัฒนาจัดการศึกษาเพื่อคนพิการอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดอุปสรรคสำคัญที่จะเป็นปัญหาในการพัฒนาคุณภาพชีวิของคนพิการ ดังนั้นจึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการจัดตั้งศูนย์บริการเพื่อเด็กพิการที่เป็นศูนย์กลางและช่วยกระจายเด็กพิการไปยังสถาบันและมูลนิธิต่างๆ ที่เป็นสถาบันหลักของแต่ละความพิการ และเป็นศูนย์กลางการบำบัดในบางส่วนให้ข้อมูลสำหรับเด็กพิการ ผู้ปกครอง เพื่อการพัฒนาอย่างเป็นระบบและเกิดความต่อเนื่องมากกว่าที่เคยเป็นมาในอดีตen_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectศูนย์กลางการบริการเพื่อเด็กพิการทางหู สมองและการเคลื่อนไหว สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาราชินีen_US
dc.subjectการออกแบบก่อสร้างen_US
dc.subjectการออกแบบภายในen_US
dc.subjectสถาปัตยกรรมภายในen_US
dc.titleโครงการเสนอแนะศึกษาและออกแบบสถาปัตยกรรมภายในศูนย์กลางการบริการเพื่อเด็กพิการทางหู สมองและการเคลื่อนไหว สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาราชินีen_US
dc.typeProjecten_US
Appears in Collections:โครงงาน (Project)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
121216.pdfโครงการเสนอแนะศึกษาและออกแบบสถาปัตยกรรมภายในศูนย์กลางการบริการเพื่อเด็กพิการทางหู สมองและการเคลื่อนไหว สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติ มหาราชินี70.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.