Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1555
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอลิษา ห่อศรีสัมพันธ์
dc.date.accessioned2014-04-21T07:45:09Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:15:23Z-
dc.date.available2014-04-21T07:45:09Z
dc.date.available2020-09-24T04:15:23Z-
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1555-
dc.description.abstractจากที่มาของโครงการพบว่าปัญหาต่างๆ เหล่านี้เกิดจากสภาวะการแข่งขันที่เพิ่มสูงขึ้น เกิดแรงกดดันจากสิ่งแวดล้อมรอบัวในด้านต่างๆ ทำให้วิถีชีวิตคนเมือง โดยเฉพาะคนที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพและในเขตชานเมืองมีคุณภาพชีวิตลดลง มีผลให้ผู้คนจำนวนมากขึ้นมีอาการป่วยทั้งทางร่างกายและจิตใจโดยที่เราไม่รู้ตัวเลย ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากสภาวะความเครียดจากเรื่องราวของบ้านเมืองและสาเหตุใกล้ตัวอย่างความเครียดจากการทำงานและการเดินทางที่ต้องพบกับการจราจรที่ติดขัดแทบทุกวัน ทั้งก่อนและหลังการไปทำงาน ถึงแม้ว่าในปัจจุบันวิวัฒนาการในการเดินทางจะก้าวหน้าด้วยรถไฟฟ้าหรือรถไฟใต้ดิน แต่เราชาวกรุงก็ยังต้องเผชิญกับปัญหาการจราจร ที่ติดขัดของเมืองกรุง ปัญหาทางความเครียดต่างๆ ในเมืองกรุง ทำให้ผู้คนเริ่มหนมาสนใจ “สุขภาพ” ของตัวเองมากขึ้น มีความต้องการสถานที่สำหรับพักผ่อนคลายความเครียดต่าง ซึ่งในปัจจุบันเริ่มมีมากขึ้นมากมาย เช่น Spa , Fitness หรือศูนย์ธรรมชาติบำบัดต่างๆ แนวทางการสร้างการผ่อนคลายจิตใจ และดูแลสุขภาพจิต จึงเป็นไปในแนวทางของกิจกรรมที่เกี่ยวกับการสร้างอารมณ์แห่งความสุข เน้นความบันเทิงสนุกสนานมากกว่าการเข้าถึงความสงบ หรือการปล่อยวาง โดยใช้หลักการของการบำบัดร่วมกับปัจจัยการรับรู้ทางด้านอื่นมาช่วยเสริมสร้างให้เกิดความรู้สึกผ่อนคลายได้รวดเร็วขึ้นโดยมีแนวคิดหลักคือ กระตุ้นให้ร่างกายหลั่งสารเอนดอร์ฟีนส์ ซึ่งเป็นสารที่ทำให้ร่างกายเกิดการผ่อนคลายความเครียด ทำให้รู้สึกมีความสุขโดยใช้สถาปัตยกรรมภายในที่เป็นตัวภาพลวงจาเพื่อสร้างโลกอีกใบที่ทำให้เกิดความสนุกสนานและผู้ใช้สามารถสนุกไปพร้อมกบตัวสถาปัตยกรรมไปด้วยได้ และบังคับให้ร่างกายหยุดหรือหลั่งสารอะดีนนารีนในปริมาณที่พอเหมาะเพราะสารนี้เป็นสารที่ทำให้ร่ายกายเกิดความตึงเครียดแต่การที่ร่างกายหลั่งสารอะดีนารีนในบริมาณที่เหมาะสมเป็นส่วนช่วยให้ร่างกายกระปรี่กระเปล่าสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงเกิดเป็นสถานีคลายอารมณ์ ซึ่งเป็นสถานที่สำหรับคนวัยทำงานที่ทำงานในเมืองหลวงอย่างเช่นกรุงเทพ เมื่อเลิกงาน การกลับบ้านในทุกๆ วันต้องพบกับการจราจรที่ติดขัด ก็สามารถแวะพักเพื่อผ่อนคลายความเครียดก่อนกลับบ้าน เป็นทั้งการคลายความเครียดที่สร้างสรรค์และสร้างความสนุกสนานให้กับตนเอง แล้วยังเป็นการรอเวลาให้การจราจรนั้นเบาบางก่อนจึงค่อยเดินทางกลับอย่างสบายๆen_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectสถานีคลายอารมณ์en_US
dc.subjectการออกแบบก่อสร้างen_US
dc.subjectการออกแบบภายในen_US
dc.subjectสถาปัตยกรรมภายในen_US
dc.titleโครงการศึกษาและออกแบบสถาปัตยกรรมภายในสถานีคลายอารมณ์en_US
dc.typeProjecten_US
Appears in Collections:โครงงาน (Project)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
121204.pdfโครงการศึกษาและออกแบบสถาปัตยกรรมภายในสถานีคลายอารมณ์103.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.