Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1428
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วีรชัย มัฎฐารักษ์ | |
dc.contributor.author | เดช เหมือนขาว | |
dc.contributor.author | ยงยุทธ ดุลยกุล | |
dc.date.accessioned | 2014-02-25T07:45:28Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:33:03Z | - |
dc.date.available | 2014-02-25T07:45:28Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:33:03Z | - |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.issn | 1685-5280 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1428 | - |
dc.description.abstract | จากการศึกษาเบื้องต้นของกระบวนการผลิตน้ำตาลโตนดในขั้นตอนการกวนน้ำตาลโดยใช้แรงงานคน ของกรณีศึกษาตัวอย่างคือกลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มแม่บ้านตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา พบว่ายังคงประสบปัญหาเรื่องสุขภาวะอนามัยในการทำงานที่มีอาการปวดเมื่อยตามร่างกายจาการทำงาน การยศาสตร์คือ การศึกษาเกี่ยวกับการปฏิสัมพันธ์กัน หรืออันตรกิริยาระหว่างมนุษย์และเครื่องมือ/อุปกรณ์ รวมถึงสภาพแวดล้อมที่มนุษย์ทำงานอยู่ การเรียนรู้ความสามารถและข้อจำกัดของมนุษย์ เพื่อใช้ประโยชน์ในการออกแบบทางวิศวกรรมหรือการปรับปรุงวิธีการทำงานให้เกิดความเหมาะสมทั้งในด้านเพิ่มคุณภาพชีวิตของผู้ทำงานและยังช่วยเพิ่มผลผลิตของงาน งานนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาปัญหาทางการยศาสตร์ด้วยวิธีการ RULA และวิธีการ REBA ในการประเมินท่าทางการกวนน้ำตาลโตนดเพื่อหาข้อสรุปสำหรับเป็นแนวทางในการตัดสินใจปรับปรุงแก้ไขปัญหาทางการยศาสตร์ โดยใช้วิธีการ RULA และวิธีการ REBA ในการตรวจสอบและการประเมินภาวะทางการยศาสตร์ ผลการวิเคราะห์ด้วยวิธีการ RULA พบว่ามีคะแนนเท่ากับ 6 ซึ่งหมายถึงว่าเริ่มเป็นปัญหาทางการยศาสตร์ ควรทำการศึกษาเพิ่มเติมและรีบดำเนินการปรับปรุงการทำงาน ผลนี้สอดคล้องกันการวิเคราะห์ด้วยวิธีการ REBA ซึ่งพบว่ามีคะแนนเท่ากับ 9 ซึ่งหมายถึงการทำงานนั้นมีปัญหาทางการยศาสตร์ ซึ่งต้องการการปรับปรุงการทำงานโดยเร็ว ผลการวิเคราะห์ดังกล่าวสามารถนำไปเป็นแนวทางในการออกแบบทางวิศวกรรมหรือการปรับปรุงวิธีการทำงานเพื่อช่วยแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาวะอนามัยในการทำงานต่อไป ซึ่งจากผลสรุปครั้งนี้ทีมงานได้นำเสนอแนวทางปรับปรุงการทำงานเพื่อแก้ไขปัญหาทางการยศาสตร์คือการใช้เครื่องทุ่นแรงแทนแรงงานคน โดยเริ่มจากการสเกตภาพเพื่อการออกแบบและสร้างเครื่องกวนน้ำตาลโตนดต่อไป | en_US |
dc.description.abstract | From the basic study in step of production of sugar from palmyra palm by mean of a case study for housewife group in Snamchai Sub-District, Stingpra District, Songkhla Province was found health problem at work. body ache, and injured from work. Ergonomics is the study of the interaction. between people and machines I including the environment where the people are working. Learning human capabilities and limitations are useful for improvement in quality of life the risk of the agriculture worker. RULA and REBA techniques were used in monitoring and assessment of ergonomics in the production of sugar from palmyra the conclusion were used as guidance to improve of ergonomics problem. This process, was considered to be likely to have problems of ergonomics. Analysis by means of RULA technique showed that the mean score of the workers was 6 which indicated that working ergonomic must be improved immediately. The results were focused with the analysis by means of REBA technique which found the mean score was 9 indicating high degree of risk. The results of this study could provide guidance in the engineering design to improve working efficiency and to minimize health problems of the agriculturist. Base on the results obtain from the study suggestion was purposed for minimizing ergonomic problem by using machine with the beginning of engineering design of palmyra palm sugar agitatin machine. | |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม; มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.relation.ispartofseries | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี;ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน 2555 | |
dc.subject | การยศาสตร์ | en_US |
dc.subject | การปรับปรุงการทำงาน | en_US |
dc.subject | การกวนน้ำตาลโตนด | en_US |
dc.title | การศึกษาทางการยศาสตร์เพื่อปรับปรุงการทำงานในกระบวนการผลิตน้ำตาลโตนด กรณีศึกษา : กลุ่มแม่บ้านตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา | en_US |
dc.title.alternative | The Study of Ergonomics for Improvement in Production of Palmyra palm Sugar A Cast Study: Housewife group in Snamchai Sub-District, Stingpra District, SongKhla Province | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | บทความ (Article - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Y.10 Vol.1 p.49-58 2554.pdf | The Study of Ergonomics for Improvement in Production of Palmyra palm Sugar A Cast Study: Housewife group in Snamchai Sub-District, Stingpra District, SongKhla Province | 3.99 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.