Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1423
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุธี ปิยะพิพัฒน์ | |
dc.contributor.author | ศุภมาส ภานุศิริ | |
dc.contributor.author | อดิศักดิ์ เหมือนสีเลา | |
dc.contributor.author | สมศักดิ์ อนันตวุฒิ | |
dc.date.accessioned | 2014-02-25T04:05:35Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:35:08Z | - |
dc.date.available | 2014-02-25T04:05:35Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:35:08Z | - |
dc.date.issued | 2550 | |
dc.identifier.issn | 1685-5280 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1423 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี ปีที่ 5 ฉบับที่ 10 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2550 | en_US |
dc.description.abstract | โครงการนี้เป็นการศึกษาเปรียบเทียบกำลังรับแบกทานของดินลุกรังผสมตะกรันเหล็กที่ใช้ในงานด้านวิศวกรรมการทาง ซึ่งได้ศึกษาถึงคุณสมบัติเบื้องต้นต่างๆ ด้านวิศวกรรมของดินลูกรัง และตะกรันเหล็กที่ได้จากโรงงานอุตสาหกรรมเหล็กในเขตจังหวัดระยองและจังหวัดชลบุรี รวมทั้งค่าความแข็งแรงของดินในการรับแรงกดอัด (California Bearing Ratio, CBR) ความสัมพันธ์ระหว่างค่า Soaked CBR กับค่า Unsoaked CBR และปริมาณตะกรันเหล็กที่เหมาะสมที่ใช้สำหรับงานทางด้านวิศวกรรมการทาง ผลการศึกษาพบว่าดินลูกรังผสมตะกรันเหล็กสามารถเพิ่มความสามารถในการรับแรงแบกทานได้ดี สามารถปรับปรุงคุณสมบัติทางฟิสิกส์เพื่อให้เหมาะสมกับการทำงานในสภาวะจำกัดได้ทำให้เกิดประโยชน์สูงสุดจากกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมหลอมเหล็กและถลุงเหล็ก พร้อมทั้งยังคุ้มทุนทางด้านสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศทางธรรมชาติ สามารถใช้ตะกรันเหล็กเป็นส่วนผสมทดแทนลูกรังได้ดีอย่างยิ่ง ตามมาตรฐานงานชั้นพื้นทางที่ค่า CBR 80% ของการทดสอบแบบ Soaked CBR ที่อายุการบ่ม 7,14 และ 28 วัน ได้ปริมาณตะกรันเหล็กที่เหมาะสมคือ ร้อยละ 60.00, 72.30 และ 89.20 และการทดสอบแบบ Unsoaked CBR ที่อายุการบ่ม 7,14 และ 28 วันได้ปริมาณตะกรันที่เหมาะสม คือร้อยละ 44.80, 39.70 และ 34.20 ตามลำดับ | en_US |
dc.description.abstract | The objective of this research is to study properties of Laterite, Ferro slag and Laterite mixed with Ferro slag in various mixed ratio that be compared in accordance with Highway Engineering Standard. Materials were tested to determine California Bearing Ratio (CBR), the relationship of Soaked CBR and Unsoaked CBR and mixed ratio that be appropriated to use for Base Course in Highway Engineering work. The results shown that Ferro slag can increase Laterite's bearing capacity and improve the physical properties that necessary for work in restricted condition, we can used Ferro slag to make the lofty benefit in steel industrial and be worth for environment so we can said that Ferro slag good for replace Laterite in Highway work. Refer to Highway Engineering Standard for Base course that said the appropriated CBR for Base Course work is 80%, the optimized mixed ratio for soaked CBR at 7 days is 60.00%, for soaked CBR at 14 days is 72.20% and for soaked CBR at 28 days is 89.20%. For unsoaked CBR , the optimized mixed ratio at curing time 0 day is 50.00%, at curing time 7 days is 44.80%, at curing time 14 days is 39.70% and at curring time 28 days is 34.20%. | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.subject | ดินลูกรัง | en_US |
dc.subject | แรงเสียดทาน | en_US |
dc.subject | ตะกรันเหล็ก | en_US |
dc.title | การศึกษาเปรียบเทียบกำลังรับแรงแบกทานของดินลุกรังผสมตะกรันเหล็ก | en_US |
dc.title.alternative | The Comparative of Bearing Capacity of Laterite Soil Mixed with Slag | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | บทความ (Article - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Y.05 Vol.10 p.34-42 2550.pdf | การศึกษาเปรียบเทียบกำลังรับแรงแบกทานของดินลุกรังผสมตะกรันเหล็ก | 1.78 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.