Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1413
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนัทธพงศ์ นันทสำเริง
dc.date.accessioned2014-02-24T04:29:10Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:33:07Z-
dc.date.available2014-02-24T04:29:10Z
dc.date.available2020-09-24T04:33:07Z-
dc.date.issued2554
dc.identifier.issn1685-5280
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1413-
dc.description.abstractบทความวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อหาสถานที่จอดยานพหนะสำหรับปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินที่เหมาะสมในการตอยสนองต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยใช้เวลาน้อยที่สุดไปยังจุกเกิดเหตุเพื่อทำการปฐมพยาบาลผู้ที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุหรือผู้ป่วยฉุกเฉินในพื้นที่ให้บริการของหน่วยปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินในพื้นที่ตัวอย่างจำนวน 172 ราย แบ่งเป็นอุบัติเหตุ 69 ราย และป่วยฉุกเฉิน 76 ราย ระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2553 ถึงเมษายน พ.ศ. 2554 และกำหนดพิกัดของจุดเกิดเหตุดังกล่าวลงบนแผ่นที่กูเกิ้ล จากนั้นจึงประเมินความเสี่ยงโดยประยุกต์ใช้รูปแบบของการวิเคราะห์อาการขัดข้องและผลกระทบ ซึ่งระดับความเสี่ยงจะคำนวณจากค่าความรุนแรง โอกาสในการเกิด และการตรวจจับและการป้องกันที่มีอยู่ เมื่อได้ค่าความเสี่ยงแล้วจึงไปคำนวณพิกัดของจุดศูนย์ถ่วงสำหรับสถานที่จอดยานพาหนะสำหรับปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินโดยการถ่วงน้ำหนักด้วยระดับความเสี่ยงของแต่ละกรณี ผลการศึกษาพบว่าสถานที่จอดยานพาหนะที่การเปลี่ยนแปลงจากจุดจอดปัจจุบันโดยห่างจากจุดเดิม 1.1 กิโลเมตร และสถานที่จอดยานพาหนะแห่งใหม่สามารถลดระยะทางในการเดินทางไปถึงผู้รับบริการได้ 20.26% เมื่อคิดระยะทางแบบระยะขจัดen_US
dc.description.abstractThe purpose of this research article was to find an optimal location for Emergency Medical Service (EMS) vehicle. The optimal location is the location where EMS vehicle can reach to patients or accident victims as fast as possible to safe the patient's life. This research began with collection of EMS data in area of study 172 cases including 96 accident cases and 76 emergency cases during October 20 I0 to April 20 II. Then, we defined geometric coordinate of each case by using Google Map. After that, risk assessment was applied for weighting of each node. In this research, we applied failure modes and effects analysis technique for risk assessment which risk score obtained from severity, frequency and detection. Risk score of each case were calculated coordination optimal location for EMS vehicle by using center of gravity technique. Results of the study revealed that optimal location of EMS vehicle was different from traditional location 1.1 kilometers. Moreover, an improved location reduced the euclidean distance 20.26% from sitting location to patients.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี. คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมen_US
dc.relation.ispartofseriesวารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี;ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2554
dc.subjectการเลือกทำเลที่ตั้งen_US
dc.subjectวิธีจุดศูนย์ถ่วงen_US
dc.subjectยานพาหนะสำหรับปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินen_US
dc.subjectรถกู้ชีพen_US
dc.subjectปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินen_US
dc.titleการประยุกต์ใช้เทคนิคศูนย์ถ่วงจากน้ำหนักความเสี่ยงในการวิเคราะห์สถานที่จอดพาหนะสำหรับปฏิบัติการทางการแพทย์ฉุกเฉินen_US
dc.title.alternativeApplication of Center of Risk Gravity in the Location Analysis for a Sitting of Emergency Medical Service Vehiclesen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Y.09 Vol.2 p.21-29 2554.pdfApplication of Center of Risk Gravity in the Location Analysis for a Sitting of Emergency Medical Service Vehicles1.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.