Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1375
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เยาวรินทร์ รอดมณี และ ระพี กาญจนะ | |
dc.date.accessioned | 2014-02-19T08:27:29Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:33:19Z | - |
dc.date.available | 2014-02-19T08:27:29Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:33:19Z | - |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.issn | 1685-5280 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1375 | - |
dc.description | วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2555 | en_US |
dc.description.abstract | ในปัจจุบันจำนวนร้านที่รับทำเครื่องดูดควันมีจำนวนมากขึ้น เนื่องจากผู้ประกอบการร้านขายอาหารนิยมใช้เครื่องดูดควันมากขึ้น เครื่องดูดควันจึงเป็นสินค้าที่มีการแข่งขันทางการตลาดสูง จากการศึกษาพบว่าเครื่องดูดควันที่ใช้ตามร้านขายอาหารทั่วไปไม่มีระบบบำบัดอากาศ ซึ่งมลภาวะจากการประกอบอาหารก็เป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหามลภาวะทางอากาศ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงจัดทำขึ้นเพื่ออกแบบเครื่องดูดควันใช้ไฟฟ้าสถิต โดยนำเอาเทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ (QFD)มาใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการออกแบบโดยการหาความต้องการของลูกค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์ เนื่องจากเป็นวิธีที่แปลงความต้องการของลูกค้าไปสู่แนวทาง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพเพิ่มขึ้น เป็นการเพิ่มมูลค่าและข้อได้เปรียบทางการตลาดโดยนำมาใช้ร่วมกับทฤษฎีฟัซซี่เซตเพื่อลดความคลุมเครือในการประเมินของลูกค้าและทีมพัฒนา กลุ่มตัวอย่างคือผู้ประกอบร้านขายอาหารที่ใช้เครื่องดูดควันภายนอกอาคาร จำนวน 100 ราย เริ่มแรกสำรวจความต้องการของลูกค้า พบว่าลูกค้าให้ความสำคัญกับประหยัดไฟฟ้ามากที่สุด รองลงมาคือความปลอดภัยในการใช้งาน และสามารถดูดควันได้หมด จากนั้นแปลงความต้องการของลูกค้าให้เป็นคุณลักษณะวิศวกรรมใน Fuzzy QFD เฟสที่ 1 ทำให้ทราบข้อกำหนดทางเทคนิคที่สำคัญคือ ใช้วัสดุที่มีคุณภาพ รองลงมา ผ่านมาตรฐานรับรองความปลอดภัยต่อผู้บริโภค และราคาจัดจำหน่ายสินค้า จากข้อกำหนดทางเทคนิคแปลงเข้าสู่ Fuzzy QFD เฟสที่ 2 คือการกำหนดคุณลักษณะของส่วนประกอบ พบว่า ปัจจัยที่มีค่าน้ำหนักมากที่สุดคือ ขนาดพัดลม รองลงมาวัสดุที่ใช้ทำโครง และวัสดุที่ใช้กรองฝุ่น จากผลการวิจัยนี้ทำให้ได้แนวทางในการออกแบบเครื่องดักควันใช้ไฟฟ้าสถิตเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | en_US |
dc.subject | ทฤษฎีฟัซซีเซต | en_US |
dc.subject | การกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพ | en_US |
dc.subject | เครื่องดักควันใช้ไฟฟ้าสถิต | en_US |
dc.title | การประยุกต์ใช้ฟัซซี่เซตร่วมกับการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพเป็นแนวทางในการออกแบบเครื่องดูดควันแบบไฟฟ้าสถิต | en_US |
dc.type | Article | en_US |
Appears in Collections: | บทความ (Article - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
1Y.10 Vol.2 p.1-11 2555.pdf | การประยุกต์ใช้ฟัซซี่เซตร่วมกับการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพเป็นแนวทางในการออกแบบเครื่องดูดควันแบบไฟฟ้าสถิต | 2.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.