Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1131
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | จตุรงค์ ลังกาพินธุ์ | |
dc.contributor.author | สุนัน ปานสาคร | |
dc.contributor.author | ราชัญทร์ หงส์โต | |
dc.contributor.author | อรรถกร จันทร์ชนะ | |
dc.contributor.author | อาทิตย์ พูลทวี | |
dc.date.accessioned | 2014-01-16T06:41:12Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:34:52Z | - |
dc.date.available | 2014-01-16T06:41:12Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:34:52Z | - |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1131 | - |
dc.description.abstract | เครื่องคัดขนาดกลีบกระเทียมถูกออกแบบและสร้างขึ้นเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำงานและลดเวลาในการคัดขนาดกลีบกระเทียมสำหรับใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมผลิตเครื่องเทศ เครื่องต้นแบบประกอบด้วย โครงสร้าง ชุดคัดขนาด ช่องป้อนกลีบกระเทียม ระบบส่งกำลังและใช้มอเตอร์ไฟฟ้าเป็นต้นกำลัง การทำงานของเครื่องเริ่มจากผู้ทำงานป้อนกลีบกระเทียมที่ต้องการคัดขนาดลงในถังป้อนกลีบกระเทียมทางด้านบนของเครื่องหลังจากนั้นกลีบกระเทียมจะไหลเข้าสู่ชุดคัดขนาด ที่ประกอบด้วยตะแกรงทรงกระบอกหมุน 3 ชั้น ที่สามารถคัดขนาดได้ 3 ขนาด และกระเทียมที่ผ่านการคัดขนาดจะไหลสู่ช่องทางออกต่างๆ ทางด้านหน้าเครื่อง จากการทดสอบโดยการป้อนแบบต่อเนื่องและใช้ความเร็วรอบของชุดคัด 10, 15 และ 20 รอบต่อนาทีตามลำดับ พบว่าเครื่องคดขนาดกระเทียมต้นแบบสามารถทำงานได้ดีที่ความเร็วของชุดคัดขนาด 20 รอบต่อนาที มีเปอร์เซ็นต์ความแม่นยำในการคัดขนาด 90.8% ความสามารถในการทำงาน 167.8 กิโลกรัมต่อชั่วโมง และอัตราการสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้า 0.8 กิโลวัตต์-ชั่วโมงและผลการวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม พบว่าเมื่อใช้เครื่องคัดขนาดกลีบกระเทียม 2,400 ชั่วโมงต่อปี ได้ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของเครื่อง 0.2 บาทต่อกิโลกรัม ระยะเวลาคืนทุน 1.06 ปี และการใช้งานที่จุดคุ้มทุน 557 ชั่วโมงต่อปี A garlic sizing machine was fabricated to increase the working capacity and reduced garlic sizing time in the seasoning industries. The prototype consisted of main frame, sizing unit, feeding chute, power transmissions unit and a 1-hp electric motor was used as a prime mover. A bulk of whole garlic was fed manually into feeding chute at the top of the machine, then these were falls through the sizing unit, meets a set of 3 cylindrical rotary sieves that serves to grading in 3 sizes, then after sizing the garlic was discharged to the discharge chute at in front of the machine. For performance evaluation, continued feeding and three sizing unit speeds of 10, 15 and 20 rpm were used. Test results indicated that the best sizing quality was obtained when operated at 20 rpm Sizing unit speed. Sizing accuracy was found to be 90.8%, working capacity 167.8 kg per hour, and consumed 0.8 kW-h of electric power. Based on the engineering economical analysis, it indicated that the machine cost was found to be 0.2 Baht/kg, payback period 1.06 years and the breakeven point of the machine was 557 hour per year at the annual use of 2,400 hour per year. | en_US |
dc.language.iso | thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ | en_US |
dc.subject | กระเทียม | en_US |
dc.subject | เครื่องคัดขนาด | en_US |
dc.subject | การออกแบบ | en_US |
dc.title | ออกแบบและพัฒนาเครื่องคัดขนาดกระเทียม | en_US |
dc.title.alternative | Design and development of a garlic sizing machine | en_US |
dc.type | journal | en_US |
Appears in Collections: | บทความ (Article - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ออกแบบและพัฒนาเครื่องคัดขนาดกระเทียม.pdf | 1.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.